Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะคลอด การพยาบาลระยะที่1, นายสมยศ ไสยรส รหัส6314991028 -…
การพยาบาลในระยะคลอด การพยาบาลระยะที่1
การรับใหม่
การซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป
อายุ
อายุเกิน35ปี(elderly primigravidarum) อาจมีปัญหาเกี่ยวกับโคโมโซมทารกเสี่ยงต่อความพิการ
อายุน้อยกว่า19ปี(Teenage pregnancy)อาจทำให้ทารกคลอดก่อนกำหนด หรือทารกน้ำหนักตัวน้อย
อาชีพ
รายได้
สถานภาพครอบครัว
การซักประวัติการเจ็บครรภ์
การซักประวัติการเจ็บครรภ์จริงและการเจ็บครรภ์เตือน
ความสม่ำเสมอของการหดรัดตัวของมดลูก
ความถี่ของการหดรัดตัว
ความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
ไม่สุขสบายบริเวณหลังและท้อง
ความรุนแรงของการหดรัดตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเดิน
การมีมูกเลือดออกทางช่องคลอด ซึ่งช่วยให้ทราบว่ามีการเจ็บครรภ์จริง
ประวัติน้ำเดิน
ให้การตรวจโดยการให้มารดาไอเพื่อดูว่าเมื่อมารดาไอมีน้ำคร่ำไหลออกมาทางช่องคลอดไหม
ตรวจ nitrazine test ถ้ากระดาษลิตมัสเปลี่ยนสีจากสีเหลืองเป็นสีน้ำเงินแกมเขียว แสดงว่าเป็นน้ำคร่ำ
การตรวจ fern test ถ้าเป็นน้ำคร่ำจะได้รูปใบเฟิร์น
ซักประวัติให้ได้ว่าลักษณะน้ำคร่ำที่ออกมาเป็นอย่างไร ถ้ามีสีใสมีไขปนถือว่าปกติ ถ้ามีสีเขียวแสดงว่าทารกมีภาวะขาดออกซิเจน (fetal distress) ถ้ามีน้ำคร่ำมีกลิ่นเหม็นแสดงว่ามีการติดเชื้อ
ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
การคำนวณอายุครรภ์
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์และการคลอด
ความผิดปกติขณะตั้งครรภ์
ความสม่ำเสมอของการฝากครรภ์
การรับประทานยาบำรุง
ประวัติการได้รับวัคซีนกันบาดทะยักรวมทั้งควรซักภาวะเสี่ยงต่างๆ
การคำนวณอายุครรภ์ จะซักประวัติการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
ในรายที่ไม่ได้รับการฝากครรภ์ให้เจาะเลือดส่งตรวจ CBC, VDRL, HBsAg และ AntiHIV
ประวัติตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการตั้งครรภ์และคลอด
การป่วยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การป่วยด้วยโรคครรภ์เป็นพิษ
การป่วยด้วยโรคหัวใจ
ชนิดของการคลอดที่ผ่านมา
การผ่าท้องคลอด
เพื่อให้ระมัดระวังมดลูกแตกถ้าให้คลอดทางช่องคลอด
ซักถามประวัติการคลอดที่ต้องล้วงรก หรือประวัติแท้งและขูดมดลูก เพื่อให้เกิดการระมัดระวังในระยะที่3ของการคลอดและการตกเลือด
เพื่อให้ทราบว่าทารกโตหรือไม่
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจ
กามโรค
โรคเลือด
การผ่าตัดในช่องท้องและอุ้งเชิงกราน
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ซักประวัติคนในครอบครัวว่าป่วยด้วยโรคติดต่อหรือทางพันธุกรรมหรือไม่
ซักว่าญาติสายตรงมีครรภ์แฝดหรือไม่
การตรวจร่างกายทั่วไป
รูปร่างและโครงสร้างร่างกาย
ตรวจหัวจรดเท้า
ตรวจเยื่อบุตาว่ามีภาวะซีดไหม อาการเหนื่อยหอย อาการปลายมือปลายเท้าเขียว
อาจทำให้ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
ตรวจต่อมไทรอยด์
ฟังปอดและเสียงหัวใจ(S1,S2)ว่าเป็นอย่างไร
ในหญิงตั้งครรภ์อามีเสียงMurmur แทรกเล็กน้อยจัดเป็นภาวะปกติ
ตรวจเต้านมว่ามีก้อนหรือไม่
ตรวจร่างกายมีการบวมหรือไม่
ประเมินดูความสะอาดของร่างกาย
แรกรับให้วัดสัญญาณชีพทุกคน
การประเมินสัญญาณชีพ
การวัดความดันโลหิต
ถ้าความดันโลหิตสูงเสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันในเลือดสูงขณะตั้งครรภ์
เกิดความปวดจากการหดรัดตัว
ของมดลูก
อุณหภูมิร่างกาย
ถ้ามีอุณหภูมิสูงกว่าปกติอาจเกิดการติดเชื้อ
ชีพจร
การหายใจ
อาการบวม
อาจแสดงถึงภาวะครรภ์เป็นพิษ
โรคหัวใจ
โรคไต
การตรวจปัสสาวะ หาน้ำตาล
และโปรตีนในปัสสาวะ
ประเมินภาวะเบาหวาน
ประเมินภาวะความดันโลหิตสูง
ในขณะตั้งครรภ์
การรับใหม่
การตรวจครรภ์
การดู การสังเกตขนาด ลักษณะของหน้าท้อง
และมดลูก
ขนาดของหน้าท้องเปรียบเทียบ
กับอายุครรภ์
ถ้าใหญ่กว่าอายุครรภ์ อาจมีภาวะ Twin,
Polyhydramnios, GDMA2
ถ้าขนาดหน้าท้องเล็กกว่าอายุครรภ์
ทารกอาจมีการเจริญเติบโตช้า
ลักษณะหน้าท้อง
รอยผ่าตัด ผนังหน้าท้องหย่อน
กล้ามเนื้อเหน้าท้องแยก
มดลูกแตก ผู้คลอดมีแรงเบ่งไม่ดีเนื่องจาก
กล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง ทำให้ความก้าวหน้าของการคลอดไม่ดี
ลักษณะหรือแนวทางของทารกในครรภ์
การตรวจครรภ์ใช้หลัก
Leopold’s Murray
ท่าที่1 Fundal Grip
-ระดับยอดมดลูก
-ส่วนนำของทารกที่ยอดมดลูก
ท่าที่2 หรือ Umbilical Grip
-Large part
-small part
ท่าที่2 หรือ Pawlik’s Grip
-ส่วนนำว่าเป็นศีรษะหรือก้น
-ส่วนนำเข้าสู่อุ้งเชิงกรานหรือยัง
ท่าที่4 หรือ Bilateral inguinal Grip
-เพื่อหาระดับของส่วนนำ และทรงของทารก
การฟัง
การฟังเสียงหัวใจทารก : FHS
adoptone ได้ยินตั้งแต่ GA 12 wk
Stethoscope ฟังได้ GA 20 wk
Ultrasound พบการเต้นของหัวใจทารก
GA 20 wk
การฟังเสียงหัวใจทารกต้องฟังหลังมดลูกคลายตัวแล้วประมาณ 20-30 นาที บริเวณสะบักข้างซ้าย(Left scapular)
ค่าปกติประมาณ110-160 ครั้งต่อนาที
ถ้าน้อยกว่า110ครั้งต่อนาที หรือมากว่า160ครั้งต่อนาที
แสดงว่าทารกอยู่ในภาวะเครียด อาจทำให้ทารกขาดออกซิเจน
เสียงอื่นๆที่ตรวจพบ
Uterine soufflé
Umbilical souffle หรือ funicular souffle
Fetal shocking sound
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
คลำที่ยอดมดลูก
ระยะการหดรัดตัว
ความถี่ของการหดรัดตัว
ความรุนแรงการหดรัดตัว
การตรวจสภาพทางออกช่องเชิงกรานภายนอก
Subpubic arch ผู้ตรวจแบมือและกางนิ้วหัวแม่มือออก แตะฝ่ามือทั้ง2ลงบนก้นของสตรีโดยให้หัวแม่มือวางทาบไปบนขอบในของ ischiopubic rami สังเกตุมุมระหว่างหัวแม่มือทั้ง2ข้าง ปกติต้องมากกว่า85องศา
A-P diameter วัดแนวตรงกลางขอบล่างรอยต่อกระดูกหัวหน่าวไปที่กระดูก coccyx ค่าปกติ9.0 ซม.
ใช้กำปั้นมือวัดในลักษณะคว่ำมือใส่ใน ระหว่าง ischial tuberoity หากใส่กำปั้นเข้าไปได้ แสดงว่า diameter ปกติ
(Interuberous diameter วัดขอบล่าง iscial tuberosity ค่าปกติ11 ซม.)
ทางเข้าช่องเชิงกราน วัดหาค่าของ diagonal conjugate diameter เป็นการวัดขอบล่างของกระดูกหัวหน่า ไปยังส่วนที่นูนที่สุดของ Promontory of sacrum ค่าปกติ 13 ซม.แล้วนำมาคำนวณหา obstetric conjugate diameter โดยลบออกด้วย 1.5-2.0 ซม.
ช่องเชิงกราน
สภาพกระดูก sacrum และส่วนหลังของเชิงกรานหากคลำได้ตรงหรือโค้งเกินไปแสดงว่าเชิงกรานแคบกว่าปกติ
ขนาดของ sacro-sciatic notch ค่าปกติยาว 5 ซม.และประเมิน ischial spine ปกติจะไม่ยื่น ถ้ายื่นแสดงว่า mid pelvis แคบ
ระยะห่างระหว่าง ischial spine ประมาณ 10.5 ซม.
ความกว้างและความลาดเอียงของรอยต่อกระดูกหัวเหน่งปกติ symphysis pubis กว้าง 5 ซม. ความลาดเอียงประมาณ 40 องศา หากลาดเอียงมากจะทำให้ obstruct conjugate diameter สั้น
ทางออกช่องเชิงกราน โดยประเมิน Subpubic arch กระดูก coccyx และการเคลื่อนไหว
นายสมยศ ไสยรส รหัส6314991028