Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะไม่สมดุลของน้ำและเกลือแร่ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะไม่สมดุลของน้ำและเกลือแร่
ภาวะไม่สมดุลของน้ำในร่างกาย
ภาวะขาดน้ำ (Dehydration)
สาเหตุ
ได้รับน้ำลดลง
กลืนลำบาก
การใช้เครื่องมือต่างๆ
ท่อเจาะคอ
ผ่าตัดกล่องเสียง
สูญเสียนน้ำมาก
การกระจายของสารน้ำในหลอดเลือดเข้าสู่ช่องว่าง
ระหว่างเซลล
อาการ
กระหายน้ำ
อ่อนเพลีย
น้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว
การรักษา
ทดแทนทางปาก (ในรายที่เป็นเรื้อรังหรือไม่รุนแรง)
IV fluid (ในรายขาดน้ำปานกลางถึงรุนแรง ไม่สามารถรับประทานได้เอง)
แก้ไขสาเหตุหลักของการขาดน้ำ เช่น ยาแก้ท้องเสีย การติดเชื้อ
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำในร่างกายทั้งหมดลดลง เป็นผลจากร่างกายได้รับน้ำน้อยลงแต่มีการสูญเสียน้ำในอัตราปกติหรือเพิ่มมากขึ้น
ภาวะน้ำเกิน (Hypervolemia)
สาเหตุ
การขับทิ้งสารน้ำออกจากร่างกายลดลง
การคั่งของสารน้ำในหลอดเลือด
ได้รับสารน้ำเข้าสู่ร่างกายมากเกิน
อาการ
บวมทั่วตัว
ท้องมาน
น้ำหนักตัวเพิ่ม
บวมกดบุ๋ม
บริเวณข้อเท้าและเท้า
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำในร่างกายมากกว่าร้อยละ 60 ของน้ำหนักตัว มี
การคั่งของน้ำและโชเดียมในอัตราส่วนเดียวกัน
การรักษา
รักษาโดยจำกัดปริมาณน้ำ
ควบคุมอาหารที่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ
การรักษาด้วยยา: Loop diuretic (Furosemide)
ภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่
ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ (Hyponatremia)
สาเหตุ
การได้รับโซเดียมเข้าสู่ร่างกายน้อย
การสูญเสียโซเดียมออกจากร่างกายมาก
ปริมาณน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
อาการ
อ่อนเพลีย ไม่ค่อยมีแรง
คลื่นไส้ อาเจียน
เป็นตะคริว กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ความหมาย
ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดต่้ำกว่า 135 mEq/L
การรักษา
ให้โซเดียมทดแทน กรณีเกิดจากขาดโซเดียม
การจำกัดน้ำวันละ 800 มล. ร่วมกับให้ยาขับปัสสาวะกลุ่ม loop diuretics
ให้ฮอร์โมนทดแทนในกรณีเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
ภาวะโซเดียมในเลือดสูง (Hypernatremia)
สาเหตุ
การได้รับโซเดียมเข้าสู่ร่างกายมาก
ภาวะขาดน้ำ
อาการ
เยื่อบุแห้ง
ผิวหนังแดง
ปัสสาวะน้อยและมีไข
ความหมาย
ภาวะที่มีโซเดียมในเลือดสูงกว่า 145 mEq/L
การรักษา
กรณีที่เกิดจากโซเดียมเกิน รักษาโดยการให้สารน้ำที่ปราศจากโซเดียม เช่น 5D/W
กรณีที่เกิดจากภาวะขาดน้ำ ต้องทดแทนด้วยน้ำที่ไม่มีโซเดียม ให้สารน้ำแบบช้าๆ
ภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูง (Hyperkalemia)
สาเหตุ
การได้รับโปแตสเซียมเข้าสู่ร่างกายมาก
การขับโปแตสเซียมออกจากร่างกายน้อย
การเคลื่อนของโปแตสเซียมออกนอกเซลล์
ภาวะโปแตสเซียมสูงลวง (Psudohyperkalemia)
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกต
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ความหมาย
ภาวะที่มีโปแตสเซียมในเลือดสูงกว่า 5 mEq/L
การรักษา
การรักษากรณีไม่รุนแรง (mild hyperkalemia)
หยุดให้โปแตสเซียม ร่วมกับให้ยาขับปัสสาวะ ในกลุ่ม Loop diuretics
กรณีรุนแรง (Severe hyperkalemia)
ให้ 10% แคลเซียมกลูโคเนตทางหลอดเลือดดำ
ให้ 7.5% โซเดียมไบคาร์บอเนต ทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ (HYPOCALCEMIA)
สาเหตุ
CKD
ขาด Vitamin D
Alkalosis
Hypoparathyroidism
อาการ
กระดูกหักง่าย
กล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อกระตุก
สั่น หรือทรงตัวลำบาก
ความหมาย
แคลเซียมต่้ากว่า 8.5 mg/dL
การรักษา
ปรับเปลี่ยนอาหารที่รับประทาน
รับประทานยาหรืออาหารเสริมที่ช่วยเพิ่มระดับแคลเซียม
ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง HYPERCALCEMIA
สาเหตุ
Primary hyperparathyroidism
CA
เคลื่อนไหวน้อยลง
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
กระหายน้ำมากขึ้น ปัสสาวะบ่อย
กล้ามเนื้อกระตุก หรือกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ความหมาย
แคลเซียมสูงกว่า 10.5 mg/dL
การรักษา
ใช้ยารักษาตามสาเหตุ
ให้สารน้ำหรือของเหลวเข้าทางหลอดเลือด
Hypermagnesemia
สาเหตุ
สูญเสียโปตัสเซียม
Hypoxia
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต
เดินเซ
ซึม (Lethargy) สับสน
อัตราการเต้นหัวใจผิดปกติ (ลดลง)
คลื่นไส้อาเจียน
ความดันโลหิตต่ำลง
ความหมาย
ภาวะที่มีความเข้มข้นของ
แมกนีเซียมในเลือดมากกว่า 1.05 มิลลิโมลต่อลิตร
การรักษา
10% Calcium chloride