Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ - Coggle Diagram
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้
แรงจูงใจในการเรียนรู้
ประเภทของแรงจูงใจ
แรงจูงใจภายใน
แรงจูงใจภายนอก
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ปัญญานิยม
มนุษย์นิยม
พฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้ทางสังคม
สภาวะที่เกิดจากความต้องการในการเรียนรู้ของผู้เรียน
แนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจ
การให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิงที่เรียน
การช่วให้นักเรียนเกิดความใส่ใจในสิ่งที่เรียน
สร้างความเชื่อมั่นและการคาดหวังเชิงบวก
การรับรู้
กระบวนการของการรับรู้
3.ความจำ Memory
4.การเรียนรู้ Learning
2.การรู้สึก Sensing
5.การตัดสินใจ Decision making
1.สิ่งเร้า Stimulus
อิทธิพลที่มีผลต่อการรับรู้
สิ่งเร้า
สิ่งเร้าที่มีโคงสร้างแบบแผน
สิ่งเร้าที่ไม่มีโครงสร้างแบบแผน
แรงจูงใจ
คุณค่าและความน่าสนใจ
การให้รางวัล
ความต้องการ
องค์ประกอบของการรับรู้
3.เซลล์ประสาทรับสัมผัส
4.ระบบประสาทส่วนกลาง
2.ตัวกลาง/สื่อ
1.สิ่งเร้า
ธรรมชาติการรับรู้
ประสาทรับสัมผัสภายนอก
จมูก
ลิ้น
หู
ผิวกาย
ตา
ประสาทรับสัมผัสภายใน
Kinesthetic
การเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ
Vestibular
การทรงตัว
ความหมาย
กระบวนการที่เกิดขึ้นภายหลังการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ผ่านประสาทสัมผัส และถูกตีความเป็นความรู้
การเรียนรู้
กระบวนการของการเรียนรู้
3.ผู้เรียนแปลความความหมาย
4.ผู้เรียนตอบสนองสิ่งเร้า
2.ผู้เรียนรับรู้สิ่งเร้า
5.ผู้เรียนสังเกตผลที่เกิดขึ้น
1.สิ่งเร้ามาเร้าผู้เรียน
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
การเสริมแรงและการหยุดยั้ง
ความจำ
การสำรวจ
การฝึกฝน
วุฒิภาวะและความพร้อม
การลงโทษและการให้รางวัล
เป้าหมาย
การเรียนโดยไม่ตั้งใจและการเรียนโดยตั้งใจ
ธรรมชาติการเรียนรู้
ความแตกต่างระหว่างบุคคล ทำให้เกิดความแตกต่างกันในเรื่องของการเรียนรู้
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ง่าย ถ้าสิ่งนั้นมีความหมายต่อผู้เรียนและเป็นสิ่งที่ผู้เรียนสนใจ
การเรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะ
การเรียนรู้เป็นการแก้ไข เปลี่นแปลง หรือปรับปรุงพฤติกรรม เมื่อได้รับประสบการณ์
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้
การจูงใจ
ประสบการณ์เดิม
อวัยวะรับความรู้สึก
วิสัยสามารถ
วุฒิภาวะ
เพศ
วัย
ความหมาย
การเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ได้รับ
การถ่ายโยงการเรียนรู้
การนำความรู้ไปใช้
ทบทวนความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนใหม่
ควรสอนให้ผู้เรียนเรียนรู้หลักการใหญ่ในบทเรียน
การจัดบทเรียนที่คล้ายคลึงกัน หรือสัมพันธ์กันให้ต่อเนื่อง
การนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ หรือประสบการร์เดิมที่ได้จากการเรียนรู้ไปใช้ในการเรียนรู้ใหม่