Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล, นางสาววรดา…
บทที่ 5 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
5.1 ลักษณะของเครื่องมือที่มีคุณภาพ
มีความเป็นปรนัย หมายถึง เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลที่สร้างขึ้นมานั้นจะมีความชัดเจน 3 ประการคือ มีความชัดเจนในความหมายของข้อคำถาม
จำแนกได้ หมายถึง เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถจำแนกความแตกต่างของสิ่งที่ถูกวัดว่ามีคุณลักษณะมากหรือน้อยกว่ากันอย่างไร
มีความเที่ยง คือ ผลที่ได้จากเครื่องมือการรวบรวมข้อมูลชุดเดียวกันกับคนกลุ่มเดียวดันในเวลาต่างกันต้องมีความคงที่ การประมาณค่าความเที่ยงมีวิธีการประมาณค่า 3 วิธีคือ
2.1 สัมประสิทธิ์ของความคงที่
2.2 สัมประสิทธิ์ของความสมมูล
2.3 สัมประสิทธิ์ของความสอดคล้องภายใน
มีความยุติธรรม หมายถึงเครื่องมือวัดนั้นต้องไม่เอื้อหรือลำเอียงให้ผู้ที่ไม่มีความรู้หรือไม่มีคุณลักษณะที่ต้องการวัดตอบถูก
มีความตรง เครื่องมือนั้นสามารถวัดในสิ่งที่ต้องการวัดหรือวัดได้ตรงตามจุดประสงค์ของการวัด ซึ่งความตรงของเครื่องมือสามารถจำแนกได้ดังนี้
1.2 ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์
1.3 ความตรงเชิงโครงสร้าง
1.1 ความตรงเชิงเนื้อหา
ความสามารถในการนำไปใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีคุณภาพนั้น ต้องสามารถนำไปใช้ในสถานที่ต้องการนำไปใช้ได้ดี คือ
6.1 สะดวกและง่ายต่อการนำไปใช้
6.2 ใช้เวลาในการทำพอเหมาะ
5.2 การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ
การวิเคราะห์ค่าความยากของข้อสอบ
การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบด้านความตรง
1.2 ความตรงเชิงโครงสร้าง
1.3 ความตรงเชิงสภาพ
1.1 ความตรงเชิงเนื้อหา
1.4 ความตรงเชิงพยากรณ์
4.การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบด้านความเที่ยง
4.1 วิธีของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน เป็นการหาค่าความเที่ยงของแบบทดสอบที่มีการตรวจให้คะแนนสองค่า 0,1
4.2 วิธีแบ่งครึ่ง เป็นการใช้กรอบแนวคิดของแบบทดสอบคู่ขนาน และสร้างข้อคำถามให้มีความยากใกล้เคียงกัน วิธีการนี้เป็นการแบ่งครึ่งเครื่องมือวัดออกเป็น 2 ชุด โดยแบ่งเป็นข้อคู่กับข้อคี่ มักใช้กับเครื่องมือวัดที่มีการให้คะแนน 2 ค่า คือ 0,1
5.3 การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามและแบบวัดทางจิตวิทยา
การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
1.1 การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามด้านความตรง
1.2 การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกโดยใช้ซ้ำประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน
การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามด้านความเที่ยง
การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยา
2.2 การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกโดยใช้สถิติทดสอบที
2.2.1 ตรวจให้คะแนนข้อคำถามแต่ละข้อ รวมคะแนนที่แต่ละคนทำไว้ (การวิเคราะห์ด้วยวิธีนี้จำนวนผู้สอบไม่ควรน้อยกว่า 100 คน)
2.2.2 เรียงคะแนนรวมของนักเรียนแต่ละคนจากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย
2.2.3 การวิเคราะห์ข้อสอบแต่ละข้อ จะดูว่ากลุ่มสุขได้คะแนนรวมในข้อนั้นถ้าได้กลุ่มต่ำได้คะแนนในข้อนั้นเท่าใด (การแบ่งกลุ่มสูงกลุ่มต่ำใช้เทคนิคการแบ่ง 50%)
2.2.4 หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละคะแนน แต่ละข้อในกลุ่มและ
กลุ่มต่ำ
2.2.5 ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มสูงกับกลุ่มต่ำในแต่ละข้อโดยใช้
สถิติทดสอบที
2.3 การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยาด้านความเที่ยง
2.1 การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยาด้านความตรง
2.1.1 การใช้เทคนิคกลุ่มรู้ชัด เป็นการตรวจสอบโดยการใช้ การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากกลุ่มที่มีคุณลักษณะในสิ่งที่ต้องการวัดกับอีกกลุ่ม เป็นกลุ่มที่ไม่มีคุณลักษณะตามที่ต้องการวัด
2.1.2 การหาค่าความสัมพันธ์กับเครื่องมือฉบับอื่น ที่วัดในโครงสร้างเนื้อหาหรือคุณลักษณะเดียวกันและมีคุณภาพดีหากความสัมพันธ์ของเครื่องมือทั้งสองฉบับมีค่าสูงและมีนัยสำคัญทางสถิติแสดงว่าเครื่องมือฉบับใหม่มีความตรงเชิงโครงสร้าง
5.5 การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC)
การหาค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงและอำนาจจำแนก
การหาค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงโดยใช้โปรแกรม SPSS ทำได้สองแบบคือ การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัค และ การหาค่าสามประสิทธิ์ความเที่ยงของแบบทดสอบด้วยวิธีแบ่งครึ่ง
5.4 การตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์และแบบสังเกต
การตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์
การตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์ด้านความเที่ยง
สามารถตรวจสอบด้วยการใช้ ผู้สัมภาษณ์หลายคน สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลคนเดียวกัน แล้วตรวจสอบความสอดคล้องของคำตอบที่ได้จากผู้สัมภาษณ์หลายคนเป็นการหาความเที่ยงระหว่างผู้สัมภาษณ์ด้วยกัน
การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามด้านความตรง
เป็นการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบข้อคำถามในการสัมภาษณ์ให้ครอบคลุมเนื้อหาตามกรอบโครงสร้างเนื้อหาที่กำหนดไว้และตรงตามนิยามศัพท์และประเด็นที่ต้องการวัดตามที่กำหนดไว้
การตรวจสอบคุณภาพแบบสังเกต
การตรวจสอบคุณภาพแบบสังเกตด้านความตรง
นิยมตรวจสอบด้วยความตรงเชิงเนื้อหาไม่ว่าจะเป็นแบบสังเกตที่เป็นแบบบันทึกข้อมูลหรือแบบสังเกตที่ใช้สังเกตพฤติกรรมต่างๆโดยอาศัยความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบความครอบคลุมของเนื้อหา ตามกรอบโครงสร้างเนื้อหาที่กำหนดไว้รวมทั้ง ความตรงไหนประเด็นการวัดและความเป็นไปได้ของการสังเกต
การตรวจสอบคุณภาพแบบสังเกตด้านความเที่ยง
แบบสังเกตพฤติกรรมเป็นเครื่องมือที่ต้องอาศัยความชำนาญของผู้สังเกตหรือผู้ประเมินหากต้องการให้ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมีความคลาดเคลื่อนน้อยจำเป็นต้องใช้ผู้ประเมินหรือผู้สังเกตมากกว่าหนึ่งคน
นางสาววรดา เหล่าวงโคตร 611120419 วิทยาศาสตร์ทั่วไป