Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) - Coggle Diagram
ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system)
ไม่มีท่อลำเลียงสารที่สร้างขึ้นได้โดยตรง อาศัยการซึมผ่านเข้าสู่เส้นเลือดฝอย แล้วละลายใน plasma จากนั้นจึงถูกลำเลียงโดยเลือดต่อไป
ต่อมไร้ท่อ ผลิตสารเคมี >> hormone
ช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบต่างๆให้เป็นปกติ
peptide hormone : amino acid
steroid hormone : steriod
chemical messenger : สารเคมีทำหน้าที่คล้าย hormone
ถูกปล่อยออกมาเพื่อรักษาสภาวะในร่างกายให้สมดุลอยู่เสมอ
neurohormone : สาร protein ถูกสร้างจากเซลล์ประสาท
ควบคุมอวัยวะที่ไม่ใช่ต่อมไร้ท่อ เช่น การหดตัวของเต้านม
neurohumors : สารเคมีที่ถูกปล่อยออกมาจากปลาย axon ทั้ง cns และ ans เป็นพวก acetylcholine ช่วยกระตุ้นให้เซลล์กล้ามเนื้อหดตัว (actinหดตัว)
ถูกทำลายโดยเอนไซม์ cholinesterase
parahormone : สารเคมีที่อวัยวะปล่อยบางอย่างออกมา ทำให้สารเคมีในสภาวะแวดล้อมเดิมเปลี่ยนไปทั้งภายในและนอก เช่น CO2
pherommone : ถูกสร้างจากต่อมมีท่อ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม กาารเจริญเติบโตหรือการตอบสนองทางเพศเกิดขึ้น เช่น กลิ่นตัว
ต่อมใต้สมอง ขนาดเล็ก แต่ขับ hormone ออกมาได้มากที่สุดและเป็นต่อมที่สำคัญที่สุด แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
anterior pituitary : ต่อมใต้สมองส่วนหน้าที่ใหญ่ที่สุด สร้าง hormone ได้มากที่สุด
somatotrophic hormone (STH) / growth hormone (GH) ช่วยกระตุ้นการเจริเติบโต
ถ้ามีน้อยในเด็กทำให้เตี้ยแคระ (Dwarfism)
ผู้ใหญ่จะเกิดอารมณ์เครียด (stress)
ถ้ามีมามากในเด็กจะเติบโตมากผิดปกติ (gigantism)
ในผู้ใหญ่กระดูกส่วนต่างจะขยายผิดปกติ (acromegaly)
gonadotrophic hormone ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์ุ (gonad) แบ่งเป็น 2 ชนิด
follicle stimulating hormone (FSH)
ในหญิงจะกระตุ้นไข่ให้เจริญ
ในชายจะกระตุ้นการสร้างตัวอสุจิ
luteinizing hormone (LTH)
ในหญิงกระตุ้นการตกไข่
ในชายจะมีการสร้างตัวอสุจิให้เป็นตัวที่สมบูรณ์
luteotrophic hormone (LTH) / prolactin ช่วยกระตุ้นต่อมน้ำนมให้สร้างน้ำนม และช่วยรักษา corpus luteum ให้คงสภาพเดิมระยะหนึ่ง
เพื่อสร้าง progesterone ระหว่างตั้งครรภ์
thyrotrophic hormone / thyriod stimulating hoemone (TSH) มีผลกระตุ้นต่อมไทรอยด์ใหเจริญเติบโต
adrenocorticotrophic hormone (ACTH) มีผลกระตุ้นการเจริญของ adrenal cortex ทำให้สร้าง hormone ได้มากขึ้น
intermediate lobe : ต่อมใต้สมองส่วนกลาง สร้าง melanocyte stimulating hormone (MSH) มีผลคล้าย ACTH
posterior pituitary / neurohypophysis : ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ไม่ได้สร้าง hormone ขึ้นเอง แต่ถูกสร้างจาก neurosecretory cell
อยู่ใน hypothelamus แล้วส่งมาที่ส่วนนี้ก่อนปล่อยเข้าสู่กระแสเลือด
antidiuretic hormone (ADH) ควบคุมการดูดน้ำกลับของไต
ถ้ามีมากทำให้ปัสสาวะมีน้อยแต่ความเข้มข้นสูง
ถ้ามีน้อยปัสสาวะจะจาง ความเข้มข้นต่ำ >> "เบาจืด" (Daibetes incipidus) คนไข้ต้องดื่มน้ำมาก
oxytocin สร้างเฉพาะในหญิงมีครรภ์
ช่วยในการหดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกตอนคลอด ช่วยในการหลั่งน้ำนม เช่น ในระยะให้นมลูก
alcohol สามารถยับยั้งการหลั่ง oxytocin ได้
ต่อมหมวกไต
ชั้นนอก : adrenal cortex
สร้าง steriod hormone 2 ชนิด
glucocorticoids
มีผลตรงข้ามกับฮอร์โมนอินซูลิน
มาก >> เบาหวาน
น้อย >> เบาจืด
ควบคุมสมดุลน้ำและเกลือแร่
mineralocorticoids
มีผลควบคุมสมดุลน้ำและเกลือแร่
โดยการดูด Na+ กลับและขับ K+ ทิ้งออกบริเวณไต
ถ้าขาดจะทำให้ร่างกายขาดน้ำ
ผอม ผิวหนังแห้ง >> addeson's disease
ถ้ามีมากร่างกายจะขาดน้ำ >> cushing's disease
ชั้นใน : adrenal medulla
สร้าง hormone สำคัญ 2 ชนิด
adrenalin/epinephrine
ภาวะตกใจจะหลั่งมาก
หลอดเลือดขยายตัว
ตับและกล้ามเนื้อสลายไกลโคเจนให้เป็นกลูโคส ทำให้มีแรงยกของหนักๆได้
noradrenalin/norepinephrine
ทำให้หลอดเลือดขนาดเล็กบีบตัว ทำให้ความดันเลือดสูงขึ้น
ต่อมไทรอยด์
thyroxin
มีไอโอดีนเป็นองค์ประกอบ
สร้างจาก thyroid follicle มีผลกระตุ้น basal metabolism เพิ่ม oxidation/การใช้ O2 เพิ่มการดูดซึมกลูโคส
เพิ่มการสร้าง protein
ถ้าขาด >> hypothyroidism
เด็ก >> cretinism (เตี้ยแครและโง่)
ผู้ใหญ่ >> myxedema
เกิดอาการอ่อนแอ ผิวหนังบวม สมองเสื่อม
ถ้าขาด iodine
สร้าง thyroxin ได้น้อย TSH หลั่งมาก ต่อมไทรอยด์โต >> simple goiter
สร้าง thyroxin มาก >> hyperthyroidism
คอพอก ชนิด toxic goiter มีอาการตาโปนร่วมด้วย >> exophthalmic goiter/grave's desease
calcitonin
ไม่มีไอโอดีนเป็นองค์ประกอบ
ลดระดับแคลเซียมในเลือด เพิ่มการขับแคลเซียมทิ้งออกไปพร้อมกับปัสสาวะ ทำให้แคลเซียมไปสะสมที่กระดูกเพิ่มขึ้น กระดูกเลยหนา
ถ้าระดับแคลเซียมในเลือดต่ำ จะมีผล feedback ต่อการหลั่ง hormone calcitonin
ต่อมพาราไทรอยด์
มี 4 ต่อมด้านหลังต่อมไทรอยด์ สร้าง parathormone
เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือดให้สูงขึ้น โดยการเพิ่มการดูดกลับของแคลเซียมที่ไตและสลายแคลเซียมจากกระดูกออกมาสู่กระแสเลือด
การทำงานของ parathormone จะดีขึ้นถ้ามีวิตามิน D ร่วมอยู่ด้วย
ถ้าขาด parathormone จะทำให้ระดับแคลเซียมในเลือดต่ำ
กล้ามเนื้อและเส้นประสาททำงานผิดปกติไป จะทำให้ระดับแคลเซียมในเลือดสูง เนื่องจากฟันและกระดูกถูกละลายแคลเซียมออกมาจึงทำให้ฟันและกระดูกเปราะ
ต่อมในตับอ่อน
beta-cell : สร้าง insulin
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้สมดุล
alpha-cell : อยู่รอบนอกของต่อมลังเกอร์ฮานส์ สร้าง glucagon มีผลตรงข้ามกับ insulin
ต่อมไพเนียล
pinealocyte&interstitial cell ภายในต่อมไพเนียลจะพบแคลเซียม
รวมกันอยู่เป็นกลุ่มๆ >> brain sand จะเพิ่มขึ้นได้ตามอายุ
มีผลเกี่ยวกับการทำงานของอวัยวะเพศ
โดยไประงับการเกิด sex hormone >> gonadotrophin
ถ้ามะเร็งที่ต่อมไพเนียล จะทำให้มีลักษณะเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่ากำหนดหรือแก่เกินอายุ >> precocious puberty & gonads จะโตผิดปกติ
ต่อมเพศ
ผลิต sex hormone/androgen
ในชาย androgen ที่สำคัญ >> testosterone สร้างจาก interstitial cell ใน testis
-ควบคุมการเจริญของอัณฑะ -พัฒนาความเป็นชาย และ
-ควบคุมความต้องการทางเพศ
ในหญิง รังไข่จะสร้าง estrogen ทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาของรังไข่ การพัฒนาของไข่ ควบคุมความเป็นหญิงและความต้องการทางเพศ
รก
สร้าง human chorionic gonadotrophin/HCG
ซึ่งถูกสร้างจาก syncytiotrophoblastic cell ของรก
สามารถตรวจปัสสาวะได้ว่าตั้งครรภ์หรือไม่จาก HCG
ช่วยให้ผนังชั้นในสุดของมดลูกทำงานต่อไปได้
สามารถสร้าง estrogen & progesterone
ซึ่งช่วยกระตุ้นการเจริญและพัฒนาอวัยวะเพศในระยะที่มีการตั้งครรภ์
ผนังกระเพาะอาหาร : ผลิต gastin โดยการควบคุมของ vagus nerve ซึ่งตวบคุมการขับกรดเกลือและน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ลำไส้เล็กตอนต้น ขับ hormone cholecystokinin/CKK
ควบคุมการขับน้ำย่อยจากตับอ่อนและการหดตัวของถุงน้ำดี
และยังมี secretin ควบคุมการขับน้ำย่อยจากตับอ่อน