Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขภาพ วัยผู้ใหญ่และวัยผู้ใหญ่กลางคน - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขภาพ
วัยผู้ใหญ่และวัยผู้ใหญ่กลางคน
วัยกลางคน อายุ 40-59 ปี “วัยทอง”
เพศหญิงจะเข้าสู่วัยทองอายุประมาณ 40-45 ปี โดยรังไข่จะเริ่มทำงานลดลง
อายุประมาณ 50 ปี จะเข้าสู่วัยหมดประจำเดือนฮอร์โมนเพศหญิง หรือเอสโตรเจนจะหมดไปเทสโทสเตอโรนก็จะลดลงทันทีอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง จึงเกิดความเฉื่อยชาทางเพศ
ร้อนวูบวาบ
เหงื่อออกมากตอนกลางคืน
นอนไม่หลับ
มีภูมิต้านทานการอักเสบติดเชื้อ
ลดลง
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะขัด กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะเล็ด
เวลาไอ จาม หรือหัวเราะ
เยื่อบุช่องคลอดบางลง การสร้างน้ำหล่อ
ลื่นก็จะค่อยๆ ลดลง
วัยผู้ใหญ่จะเริ่มขึ้นตั้งแต่อายุ 21 ปี จนถึงอายุ 40 ปี
ระยะพัฒนาการของวัย
นี้เรียกได้ว่า เป็นระยะสำรวจ Explore period)
พร้อมที่จะสร้างครอบครัว
การเรียนรู้เรื่องเพศสัมพันธ์อย่างเหมาะสม
พัฒนาการในวัยผู้ใหญ่
พัฒนาการทางร่างกาย
ผม จะเป็นตัวชี้วัดเกี่ยวกับการมีอายุที่น่าเชื่อถือได้มาก
เล็บ จะขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม อาหาร และความเจ็บป่วย
ผิวหนัง จะมีรอยย่นเกิดขึ้นตามใบหน้า เช่น รอยดวงตา หน้าผาก
กระดูกและฟัน ความสูงจะเริ่มลดลงเล็กน้อยบางคนเริ่มมีเนื้อเยื่อไขมันเพิ่มขึ้น
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ จะมีการพัฒนาเพิ่มขึ้นจนถึงอายุ 30 ปี จากนั้นจะเริ่มลดลง
การเปลี่ยนแปลงภายใน
หัวใจ ตั้งแต่อายุ 20 ปี หัวใจจะมีขนาดโตขึ้นเล็กน้อย
หลอดเลือด ผนังของหลอดเลือดจะมีความยืดหยุ่นลดลง
ไต การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเมื่ออายุประมาณ 30 ปี เพราะอวัยวะจะเริ่มเหี่ยว มีน้ำหนักลดลงเลือดที่ไปเลี้ยงไตจะค่อยๆ ลดลง
ปอด ในทุกๆ 10 ปีของวัยผู้ใหญ่ ปอดจะสูญเสียความสามารถในการปล่อยอากาศให้ผ่านเข้าไปสู่เนื้อเยื่อภายในประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์
ระบบสืบพันธุ์ สามารถทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์
สายตา ความสามารถในการมองเห็นลดลง
เมื่ออายุ 25 ปีจะเริ่มมีการ
สูญเสียการได้ยินในทุกเสียงลงอย่างช้าๆ
พัฒนาการทางอารมณ์และจิตใจ
บุคคลมีความเข้าใจเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม
เพิ่มขึ้น
มีความสามารถที่จะให้ความสนิทสนม รักใคร่คนอื่น
มีความมั่นคงทางอารมณ์
คนที่มีวุฒิภาวะจะไม่ใช้กลไกการป้องกันตนเอง
มีความรู้จักตนเองใน 3 ด้านคือ
รู้ว่าตนทำอะไรได้บ้าง
รู้ว่าตนทำอะไรไม่ได้บ้าง
รู้ว่าตนควรจะทำอะไร
พัฒนาการทางสติปัญญา
ความคิดรวบยอดที่มีมากกว่า 1 มิติจะมีความล่าช้าเกิดขึ้นในภายหลังอายุ 35 ปี
มีการตั้งคำถามที่มีประสิทธิภาพ
และจะลดลงตามอายุเช่น อายุ 30 ปี จะลดลง 30 เปอร์เซ็นต์
อายุ 20 ปีต้นๆ วิตกกังวลเกี่ยวกับรูปร่าง หน้าตา การเลือกคู่ครอง
อายุ 30-40 ปี สุขภาพและความสำเร็จในชีวิตการงาน
พัฒนาการด้านสังคมในวัยผู้ใหญ่
สามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่น
ได้
พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันในบางโอกาสกับสังคมรอบข้าง
กล้าหารในการ
รับผิดชอบต่อสังคม
การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
แนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพวันผู้ใหญ่ด้านร่างกาย
คงไว้ซึ่งความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย
การออกกำลังกาย
การรับประทานอาหาร
สนับสนุนให้มีการตรวจสุขภาพประจำปี
สร้างเสริมความรู้ในการดูแลสุขภาพ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
สร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
สร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือก เช่น การรักษาด้วยสมุนไพร การกดจุด การฝังเข็ม การใช้น้ำมันหอมระเหย การบำบัดด้วยโภชนาการและอาหาร ดนตรีบำบัด เป็นต้น
สร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
ควรให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่เกิดขึ้น สาเหตุ อาการและอาการแสดง เช่น ปัญหาความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ปัญหาหมดประจำเดือน หรือชายวัยทอง
ควรแนะนำการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงนั้น และวิธีการชะลอความเสื่อมถอยของร่างกาย โดยเลือกอาหาร การออกกำลังกาย การพักผ่อน และการผ่อนคลายความตึงเครียด
สนับสนุนให้มีการตรวจสุขภาพประจำปี
อายุ 35-59 ปี ได้แก่ วัดความดันโลหิต วัดส่วนสูง-น้ำหนักเพื่อค้นหาภาวะโภชนาการ (BMI) ตรวจไขมันในเลือด
ในชายอายุ 35 ปี หญิงอายุ 45 ปีขึ้นไป ตรวจน้ำตาลในเลือด
ในคนอายุ 40 ปีขึ้นไป ในหญิงต้องตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยทำ Pap smear และตรวจมะเร็งเต้านม
การให้วัคซีนที่จำเป็น
วัคซีนป้องกันบาดทะยักและคอตีบ ควรได้รับการฉีดเริ่มต้น 3 เข็ม และรับการกระตุ้น 1 เข็ม ทุก 10 ปี
วัคซีนป้องกันหัดเยอรมัน สำหรับหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่วางแผนจะตั้งครรภ์ (ให้ก่อนตั้งครรภ์)
แนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพวันผู้ใหญ่ด้านจิตอารมณ์
สร้างเสริมเทคนิคการจัดการความเครียด
สร้างเสริมสุขภาพจิตหญิงวัยหมดประจำเดือนและชายวัยทอง
พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในส่วนที่เกี่ยวกับตน และในส่วนที่สัมพันธ์กับผู้อื่น
ส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่างถูกวิธีและให้กำลังใจในการเผชิญปัญหา
การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
แนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพวันผู้ใหญ่ด้านจิตวิญญาณ
ส่งเสริมการมีที่พึ่งทางจิตวิญญาณ
ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา
แนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพวันผู้ใหญ่ด้านสังคม
ส่งเสริมการปรับตัวเข้ากับแบบแผนชีวิตแบบใหม่และบทบาทในสังคม เช่น การเตรียมตัวมีคู่ชีวิต การปรับตัวเข้ากับคู่ครอง
ส่งเสริมความผูกพันของพ่อแม่กับลูกวัยทารก
ส่งเสริมการบริหารเวลาที่เหมาะสม