Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสภาพของโรค - Coggle Diagram
พยาธิสภาพของโรค
ภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก
(Redpiratory distress snydrome)
พยาธิสภาพตามทฤษฎี
ภาวะหายใจลำบากในทารกแรกเกิดเกิดจากปอดของทารกคลอดก่อนกำหนดขาดสารลดแรงตึงผิวที่สร้างจากเซลล์ในถุงลมตั้งแต่อายุครรภ์ประมาณ 20 สัปดาห์และสร้างมากขึ้นจนอายุครรภ์ 35 สัปดาห์การขาดสารลดแรงตึงผิวทำให้ความยืดหยุ่นของปอดลดลงทารกต้องใช้แรงในการหายใจในแต่ละครั้งมากขึ้นต่อมาทารกจะเหนื่อยล้าทำให้ทารกมีภาวะเลือดขาดออกซิเจนร่วมกับมีการคั่งของ CO2 และเกิดภาวะกรดตามมาจากการที่หลอดเลือดที่ปอดหดตัวดังนั้นการกําซาบของอากาศที่ปอดลดลงจึงมีการหายใจแรงมากขึ้น
อาการตามทฤษฎี
-หายใจเร็วหอบปีกจมูกบานอาจเร็วถึง 100 ครั้ง / นาที-อกหรือช่องระหว่างโครงปุ่มขณะหายใจเข้า
-เสียงหายใจผิดปกติมีการกลั้นหายใจขณะหายใจออกหรือมีเสียงคราง (Expiration Grunting)
-อาการตัวเขียว
-ความดันโลหิตต่ำทารกอาจดูซีดหรือคล้ำโดยที่ระดับฮีมาโทคริตไม่ต่ำเนื่องจากระบบไหลเวียนเลือดส่วนปลายไม่ดี
พยาธิสภาพตามโรคของผู้ป่วย
-ทารกคลอดก่อนกำหนดเมื่ออายุครรภ์ 30 + 2 สัปดาห์
-อัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ (70 ครั้ง / นาที) และ
O2 sat ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ (90-93%)
อาการตามโรคของผู้ป่วย
-ทารกหายใจเร็ว (70 ครั้ง / นาที)
-ปีกจมูกบานหน้าอกบุ๋ม
ข้อวินิจฉัย
มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากทารกมีการหายใจลำบากจากการทำงานของปอดไม่สมบูรณ์
ข้อมูลสนับสนุน
ทารกหายใจเร็ว
อัตราการหายใจ 70ครั้ง/นาที
O2 sat 90-93%
on.O2 box 10 LPM
วัตถุประสงค์
-เพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เกณฑ์การประเมินผล
1.อัตราการหายใจอยู่ระหว่าง 40-60ครั้ง/นาที
2.ไม่มีภาวะหายใจลำบากปลายมือปลายเท้าไม่เขียว
3.ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดอยู่ระหว่าง>95%
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้ on o2 box 10 LPM ตามคำสั่งการรักษา
2.วัดสัญญาณชีพทุก 1 ชม.และวัดO2 sat
3.ประเมินร่างกายที่บ่งบอกถึงภาวะพร่องออกซิเจนเช่นปลายมือปลายเท้าเขียวคล้ำ หายใจเหนื่อยหอบเป็นต้น
4.จัดท่านอนให้ทารกศรีษะสูง หรือนอนราบและใช้ผ้าหนุนบริเวณคอและไหล่
การประเมินผล
1.วัดอัตราการหายใจ=54ครั้ง/นาที
2.ไม่มีอาการปลายมือปลายเท้าเขียว3.ความอิ่มตัวออกซิเจนในเลือดเท่ากับ 97%
ข้อวินิจฉัย
ทารกมีภาวะติดเชื้อเนื่องจากภูมิต้านทานในร่างกายต่ำ
ข้อมูลสนับสนุน
ทารกคลอดก่อนกําหนดอายุครรภ์ 30 + 2
O: หายใจไม่สม่ำเสมอ 70 ครั้งนาที uif VDRL + ve (1: 6)
วัตถุประสงค์
เพื่อรักษาอาการติดเชื้อในร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
1.การประเมินทารกมีสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
-อุณหภูมิ 36.5 -37.4 c
-อัตราการหายใจ 40-60 ครั้งนาที
-อัตราการเต้นของหัวใจ 120-160 ครั้งนาที
ทารกไม่มีอาการแสดงในการติดเชื้อเช่นซึมอุณหภูมิร่างกายต่ำตัวลาย
กิจกรรมการพยาบาล
1.ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
2.เมื่อมีการขับถ่ายเช็ดทําความสะอาดด้วยสาลีชุบน้ำด้มสุก
ดูแลให้ได้รับยา
-Ceftazidine 150 mg. IV drip q 12 hr.
-Amikacin 12 mg. IV drip OD.
-Benzathine penicillin G 92,500 units. IM single dose
-Aqueous crystalline penicillin G 92,500 units IV drip q 12 hr.
4 .ดูแลทําความสะอาดร่างกายทารกวันละ 2 ครั้ง
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้ปราศจากเชื้อ
แนะนําให้พ่อแม่เด็กล้างมือและผูกผ้าปิดจมูกเมื่อเข้ามาเยี่ยมเด็กในหอผู้ป่วย
ติดตามการเปลี่ยนแปลงวัดประเมินสัญญาณชีพติดตามผล Lap
การประเมินผล
เกณฑ์การประเมินทารกมีสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ-อุณหภูมิ 36.5 -37.4 c-อัตราการหายใจ 40-60 ครั้งนาที-อัตราการเต้นของหัวใจ 120-160 ครั้งนาที
2 .ทารกไม่มีอาการแสดงในการติดเชื้อเช่น ซึม อุณหภูมิร่างกายต่ำ ตัวลาย
ข้อวินิจฉัย
ทารกมีภาวะหายใจผิดปกติเนื่องจากการทำงานอวัยวะยังไม่สมบูรณ์
ข้อมูลสนับสนุน
ทารกคลอดก่อนก่าหนดอายุครรภ์ 30 + 2 O: ผู้ป่วยหายใจเร็วจมูกบานมีอกบ่มหายใจไม่สม่ำเสมออัตราการหายใจ 70 ครั้งนาที -O2sat90-93%
วัตถุประสงค์
ทารกสามารถหายใจเองได้สะดวกและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ปลอดภัยจากภาวะระบบหายใจล้มเหลว
เกณฑ์การประเมินผล
ทารก active ดีร้องดีไม่ซึมไม่มีไปมือไปเท้าคล้าหายใจสม่ำเสมออัตราการหายใจ 40-60 ครั้ง/นาที
ออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายเพียงพอไม่มีเขียวคล้ำ
ทารกไม่มีภาวะหยุดหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ออกซิเจนชนิด 02 box ตามแผนการรักษา
-ให้ออกซิเจน O2 box 5 I / m
สังเกตและบันทึกลักษณะการหายใจนับอัตราการหายใจทุก 1 ชม.
ดท่านอนให้หายใจเปิดโล่ง -keep 02 sat> 95% 89
เฝ้าติดตามอาการการเต้นของหัวใจขณะหลับ
การประเมินผล
ทารก active ดีร้องเสียงดังไม่มีอาการคล้ำตามปลายนิ้วมือนิ้วเท้า
อัตราการหายใจอยู่ในช่วง 54-56ครั้ง/นาที
O2 sat ดี98-100% หายใจสม่ำเสมอไม่มีอกบุ๋ม
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อภาวะขาดสารน้ำสารอาหารเนื่องจากโรคทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
ข้อมูลสนับสนุน
-10% D / N / 5 500 ml. V drip 14ml / hr.
-PF 30cc x 8 feeds
-น้ำหนักตัวแรกเกิด 1450 g
ดูดกลืนได้น้อยมีการสําลักบ่อย
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ทารกมีความสมดุลของสารน้ำและสารอาหาร
เกณฑ์การประเมินผล
น้ำหนักทารกเพิ่มขึ้น 20-30 g / day 2. ทารกไม่มีอาการปากแห้งจากการขาดสารน่าสารอาหาร
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินนําหนักตัวทารกขนาดแรกรับและบันทึกการเปลี่ยนของน้ำหนักตัวทารกทุกวันควรชั่งน้ำหนักในเวลาเดียวกันทุกวัน
2.ดูแลให้สารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์ 10% D / N / 5 500 ml. V drip 14ml / hr.
ดูแลตาแหน่งของการให้สารน้ำและเฝ้าระวังอาการบวมแดงของตำแหน่งที่ให้สารน้ำ
หากทารกได้รับนมควรสังเกตว่าทารกกินนมได้หรือไม่หรือมีการสํารอกหรือไม่และควรป้องกันการสํารอกและท้องอืดหลังรับประทานนมของทารกด้วยการจับทารกคว่ำให้ทารกเลอทุกครั้งหลังให้นม
การประเมินผล
ทารกน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น-ทารกไม่มีอาการปากแห้ง
ข้อวินิจฉัย
มารดามีความวิตกกังวลเนื่องจากการเจ็บป่วยของทารกและไม่สามารถแสดงบทบาทมารดาได้อย่างเต็มที่
ข้อมูลสนับสนุน
ท่าทางของมารดา เงียบเฉย ซึม ครุ่นคิด
มารดาสัมผัสทารกอย่างเบามือ อุ้มทารกไม่ถูกท่า ไม่พูดคุยกับทารก มาเยี่ยมทารกอาทิตย์ละ1ครั้ง
วัตถุประสงค์
-ลดความวิตกกังวลในอาการเจ็บป่วยของทารก
-มารดามีโอกาสแสดงบทบาทของมารดาได้มากขึ้น
-สร้างสายสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
เกณฑ์การประเมินผล
-มารดาคลายความวิตกกังวลมีสีหน้าสดชื่นขึ้นและพูดคุยแสดงความสบายใจขึ้น
-มารดาเข้าเยี่ยมทารกและให้การดูแลทารกตามความเหมาะสม
-มารดากล้าอุ้มทารกมากขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพัธภาพและเปิดโอกาสให้มารดาได้สอบถามปัญหาที่สงสัยและระบายความรู้สึก
2.อธิบายให้มารดาทราบถึงการรักษาและปัญหาของทารกและให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลรักษามารก
3.เปิดโอกาสให้มารดาเข้าเยี่ยมสัมผัสทารก
การประเมินผล
-มารดาพูดคุยกับทารกมากขึ้น และมีสีหน้ายิ้มแย้ม
-มารดาเข้าเยี่ยมทารกเป็นระยะๆและสัมผัสทารกมากขึ้น
ข้อวินฉัย
ทารกมีภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำเนื่องจาดศูนย์ควบคุมอุณหภูมิยังเจริญไม่เต็มที่
ข้อมูลสนับสนุน
แรกรับ อุณหภูมิร่างกาย=35.8องศาเซลเซียส
ทารกตัวเย็น
ดูแลอุณหภูมิกาย on Incubator
อัตราการหายใจ 70ครั้ง/นาที
วัตถุประสงค์
-เพื่อให้ทารกมีอุณหภูมิร่างกายที่ปกติไม่มีอุณหภูมิกายต่ำ
เกณฑ์การประเมินผล
1.สัญญาณชีพปกติโดยเฉพาะ อุณหภูมิ=36.5-37.4องศาเซลเซียส
2.ร่างกายอบอุ่นและผิวหนังแดงดีหรือมีสีชมพู
3.ทารกมีการActiveดี ไม่ซึม
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้ความอบอุ่นกายทารกด้วยการนอนในตู้อบinbatorที่อุณหภูมิเหมาะสม
2.ประเมินสัญญาณชีพทุกๆ1ชั่วโมงโดยเฉพาะอุณหภูมิกายของทารกพร้อมบันทึกอุณหภูมิทุกครั้ง
3.ประเมินภาวะอุณหภูมิกายต่ำ เช่น อาการซึมลง หัวใจเต้นช้าลง หายใจช้าลง ปลายมือปลายเท้าเขียว ตัวเย็น
4.ประเมินอุณหภูมิกายสูง เช่น หน้าแดงผิวหนังร้อนกว่าปกติ
5.ดูแลให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล หลีกเลี่ยงการเปิดตู้อบโดยไม่จำเป็น
การประเมินผล
-อุณหภูมิร่างกาย=36.8องศาเซลเซียส
-ผิวหนังมีสีชมพู
-ทารกActiveดี
ซิฟิลิสแต่กำเนิด (Congenital syphilis)
พยาธิสภาพตามทษฎี
ซิฟิลิส แต่กำเนิดเกิดจากมารดาที่ติดเชื้อซิฟิลิสถ่ายทอดเชื้อสู่ลูกผ่านทางรกอัตราการติดเชื้อของทารกในครรภ์ขึ้นอยู่กับจำนวนเชื้อในกระแสเลือดของมารดาถ้ามารดาเป็นโรคในระยะที่มีเชื้อจำนวนมากเช่นซิฟิลิสระยะที่ออกผื่นทารกก็มีโอกาสติดเชื้อสูงถ้าเป็นโรคในระยะแฝงเกิน 2 ปีอัตราการติดเชื้อของทารกจะลดลงเหลือเพียงร้อยละ 30 ร้อยละ 40 ของทารกที่ติดเชื้อจะเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์และอีกส่วนหนึ่งจะเสียชีวิตภายในขวบปีแรกเด็กที่รอดชีวิตจะมีความพิการทางร่างกายหลายอย่างเป็นปัญหาแก่ครอบครัวและประเทศชาติอย่างมากปัจจุบันอุบัติการณ์ของโรคซิฟิลิส แต่กำเนิดพบน้อยลงหลังองค์การอนามัยโลกกำหนดให้มีการตรวจเลือดหาระดับของ VDRL ในหญิงที่มาฝากครรภ์ทุกรายการรักษาโรคซิฟิลิส แต่กำเนิดที่ได้ผลดีที่สุดคือการรักษาที่มารดาตั้งแต่อายุครรภ์ยังไม่ถึง 5 เดือน
อาการและอาการแสดง แบ่งได้2 ระยะ
ระยะแรก (Early congenital syphilis) พบตั้งแต่แรกคลอดจนถึงระยะ1 ปี มักมีอาการคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักแรกคลอดน้อย ตับโต ม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโตตัวซีดผิวหนังที่ฝ่ามือฝ่าเท้าพองและลอกเด็กจะมีอาการคล้ายคนเป็นหวัดน้ำมูกมากเมื่อเด็กอายุได้ 2–3 เดือน จะพบลักษณะเฉพาะ คือ ตัวเหลือง ผื่นขึ้นตาม ตัวซิฟิลิสระยะที่2ในผู้ใหญ่บางรายมีอาการนอนนิ่งไม่ขยับเขยื้อนคล้ายเป็นอัมพาต
โรคซิฟิลิสแต่กำเนิดระยะหลัง(Latecongenital syphilis) พบอาการและอาการแสดง หลังอายุ 2 ปีและมักเป็นพยาธิสภาพที่คงอยู่ถาวร ลักษณะทางคลินิกที่ตรวจพบ
คือ จอตาอักเสบ หูหนวก มีน้ำในข้อเข่าทั้งสองข้างแต่ไม่ปวด(Clutton’s joints) พัฒนาการของฟันผิดปกติ เช่น ฟันรูปหมุดฟันหน้าบุ๋มตรงกลางคล้ายขอบเลื่อย (Hutchinson’s teeth)ขากรรไกรล่างนูนเด่น เป็นต้น ไม่มีดั้งจมูก กระดูกหน้าผากนูนกระดูกหน้าแข้งโก่งมาด้านหน้า มีอาการของซิฟิลิสระบบประสาท
พยาธิสภาพตามโรคของผู้ป่วย
มารดามีผล VDRL +ve(1:6)
อาการและอาการแสดง
ทารกคลอดก่อนคลอดเมื่ออายุครรภ์ 30 + 2 สัปดาห์
น้ำหนักแรกเกิด 1,450 กรัมสีผิวสีเหลือง ซีด
แห้งลอกเป็นขุย