Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล - Coggle…
บทที่ 5
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ
การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบด้านความเที่ยง
การวิเคราะห์ค่าความยากของข้อสอบ
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบด้านความตรง
ลักษณะของเครื่องมือที่มีคุณภาพ
มีความเป็นปรนัย
มีความชัดเจนในความหมายของข้อคำถาม
มีวิธีการตรวจให้คะแนนที่ชัดเจน
มีการแปลความหมายคะแนนได้ชัดเจน
จำแนกได้
มีความเที่ยง (Rediability)
สัมประสิทธิ์ของความสอดคล้องภายใน
สัมประสิทธิ์ของความสมมูล
สัมประสิทธิ์ของความคงที่
มีความยุติธรรม
มีความตรง (Validity)
ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์
ความตรงเชิงโครงสร้าง
ความตรงเชิงเนื้อหา
ความสามารถในการนำไปใช้
สะดวกและง่ายต่อการนำไปใช้
ใช้เวลาในการทำพอเหมาะ
การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามและแบบวัดทางจิตวิทยา
การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยา
การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกโดยใช้สถิติทดสอบที
เรียงคะแนนรวมของนักเรียนแต่ละคนจากน้อยไปมาก หรือจากมากไปน้อย
การวิเคราะห์ข้อสอบแต่ละข้อ จะดูว่ากลุ่มสูงได้คะแนนรวมในข้อนั้นเท่าใด กลุ่มต่ำได้คะแนนในข้อนั้นเท่าใด
ตัวให้คะแนนข้อคำถามแต่ละข้อ รวมคะแนนแต่ละคนทำไว้
การหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนแต่ละข้อ ในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ
ทดสอบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มสูงกลุ่มต่ำ ในแต่ละข้อโดยใช้สถิติทดสอบที
การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยาด้านความตรง
การหาค่าความสัมพันธ์กับเครื่องมือฉบับอื่น
การใช้เทคนิคกลุ่มรู้ชัด
การวิเคราะห์องค์ประกอบ
3) การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยาด้านความเที่ยง
การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามด้านความเที่ยง
การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกโดยใช้สหสัมพันธ์เพียร์สัน
การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามด้านความตรง
5 การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC)
การหาค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงและอำนาจจำแนก
การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค
การหาค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของแบบทดสอบด้วยวิธีแบ่งครึ่ง
การตรวจสอบคุณภาพและสัมภาษณ์และแบบสังเกต
การตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์ด้านความเที่ยง ตรวจสอบโดยการใช้ผู้สัมภาษณ์หลายคน สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลคนเดียวกัน
แบบสัมภาษณ์ด้านความตรง เป็นการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา โดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบข้อคำถาม
การตรวจสอบคุณภาพแบบสังเกต
แบบสังเกตด้านความเที่ยง แบบสังเกตพฤติกรรมเป็นเครื่องมือที่ต้อง
อาศัยความชำนาญของผู้สังเกตหรือผู้ประเมิน
แบบสังเกตด้านความตรง นิยมตรวจสอบด้วยความตรงเชิงเนื้อหา