Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
AGE - Coggle Diagram
AGE
septic shock
พยาธิสภาพ
เกิดจากเซลล์เยื่อบุหลอดเลือดถูกกระตุ้นความสามารถในการซึมผ่านเพิ่มขึ้นมีการขยายตัวของหลอดเลือดทั่วร่างกาย จากการที่ร่างกายหลั่งสารที่มีผลต่อระบบหัวใจหลอดเลือดเพิ่มขึ้น การหลั่งของฮอร์โมนvasopressinลดลง ทำให้เกิดการสูญเสียสารน้ำออกนอกหลอดเลือด ทำให้สารน้ำคั่งช่องว่างระหว่างเซลล์เช่นถุงลมหรือส่งผลทำให้เกิดอาการบวมทั่วร่างกาย
-
ภาวะแทรกซ้อน
อาจเสี่ยงเกิดอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงและเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ เช่น หัวใจวาย ไตวาย ตับวาย ภาวะการหายใจล้มเหลว ความผิดปกติด้านการแข็งตัวของเลือด โรคหลอดเลือดสมอง
Respiratory failure
พยาธิสภาพ
ภาวะที่ระบบหายใจเสื่อมสมรรถภาพไม่สามารถทำหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซหรือระบายอากาศ ให้ออกซิเจนในเลือดแดงลดลง
(Hypoxemia, PaO2< 60 mmHgหรือ < 8.0 kPa) หรือมีการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
(Hypercapnia, PaCO2> 50 mmHg หรือ> 6.0 kPa และ pH < 7.3)
Acute hypoxemic respiratory failure
มีความดันก๊าซออกซิเจน <60 mmHg โดยมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดงเป็นปกติเกิดจากความไม่สมดุลระหว่างอากาศและเลือดที่ไหลเวียนเข้าสู่ปอดเพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซมีอากาศไหลเวียนเข้าสู่ถุงลมเพียงพอ แต่มีเลือดไหลมาแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เพียงพอ หรือเกิดจากการมีเลือดไหลเวียนมาที่ถุงลมโดยไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซส่งผลให้ระดับก๊าซออกซิเจนในเลือดต่ำ กว่าปกติเกิด V/Q mismatch
-
Hypercapnic respiratory failure
มีระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงกว่า ปกติ>50 mmHgระดับก๊าซออกซิเจนในเลือดแดงอาจต่ำกว่าปกติเกิดจากการหายใจเข้าลดลง จำนวนครั้งการหายใจเข้าลดลง หรือมีการหายใจเข้าตื้นกว่าปกติโดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคของระบบการหายใจเข้า
ลดลงหรือมีการหายใจเข้าตื้นกว่าปกติโดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคของระบบประสาทและกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ควบคุมหายใจเข้าออก เช่น โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
-
อาการและอาการแสดง
-ระบบประสาท มีอาการกระสับกระส่าย สับสนไม่มีสมาธิขาดออกซิเจนรุนแรง มีอาการซึมถึงขั้นหมดสติ อาจมีกล้ามเนื้อกระตุก และอาการชักทั้งตัวได้
-ระบบหายใจ อัตราการหายใจเร็วขึ้นหายใจหอบเหนื่อยถ้ามีภาวะพร่องออกซิเจนรุนแรงมากเกิดภาวะ Cheyne-stokes breathingหรือ apnea cyanosis
-ระบบหัวใจและหลอดเลือด กระตุ้น sympathetic system ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูงการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลงความดันโลหิตลดลงหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอร่างกายสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
-ระบบไต กระตุ้นrennin angiotensin axis ให้มีการสร้าง erythropoietin
เพิ่มขึ้นมีปัสสาวะออกลดลง < 0.5-1 ml/kg/hrถ้ารุนแรงอาจเกิดภาวะไตวาย
-ระบบผิวหนัง มีอาการเหงื่อออก ตัวเย็น มีระดับ PaO2 < 40 mmHg หรือO2Sat < 70 %พบอาการตัวเขียว (cyanosis) ควรตรวจดูที่ เยื่อบุปาก ลิ้นและปลายมือ
กรณีศึกษา
-มีอาการหายใจเหนื่อยมากขึ้น
-v/sแรกรับวันที่29/12/64 T36.5c PR57/min RR20/min BP83/46mmHg SpO2 93%
-ผลVBGวันที่ 29/12/64
PH7.285
PaCO2 36.4
PaO2 38
-
การรักษา
. 1.การดูแลทางเดินอากาศต้องทำให้ทางเดินหายใจของผู้ป่วยเปิดโล่งไม่มีการอุดกลั้น
2.ภาวะ hypoxemia และ hypercapniaดูแลให้ได้รับออกซิเจนที่เพียงพอหากไม่สามารถแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนหรือภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่งได้พิจารณาช่วยหายใจโดยการใช้เครื่องช่วยหายใจ
3.รักษาตามสาเหตุ เช่นให้ยาขยายหลอดลมลดการตีบตันของหลอดลม
กรณีศึกษา
-ดูแลให้ผุ้ป่วยได้รับออกซิเจนโดยให้ET tube ต่อ ventilator mode PCV RR12 PS14 PEEP5 Fio2 0.2
-ดูแลให้ได้รับยา Berodual 2 puff q 6 hr+suction prn
การวินิจฉัย
1ซักประวัติ อาการและอาการแสดงของผู้ป่วย
2.ประเมินระดับความรู้สึกตัวลดลง (GCSน้อยกว่า 15 คะแนน)
3.ประเมินอัตราการหายใจมากกว่าหรือเท่ากับ 22 ครั้งต่อนาที
3.ความดันโลหิตซิสโตลิคน้อยกว่าหรือเท่ากับ 100 มิลลิเมตรปรอทหากพบว่ามีความผิดปกติมากกว่า 2 ข้อ ถือว่ามีความเสี่ยงสูงต้อง
ได้รับการรักษาทันที
4.เก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อทําการเพาะเชื้อก่อนให้ยาต้านจุลชีพเช่น เลือดปัสสาวะ
กรณีศึกษา
-v/sแรกรับวันที่29/12/64 T36.5c PR57/min RR20/min BP83/46mmHg
-GCSแรกรับวันที่29/12/64 E4VTM6
การรักษา
1.ดูแลเรื่องการหายใจโดยให้ออกซิเจน และถ้าจําเป็นอาจต้องช่วยหายใจ
2.รักษาภาวะสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
โดยส่วนมากผู้ป่วยจะเกิดภาวะmetabolic acidosis อาจจําเป็นต้องแก้ไขโดยให้ Sodium bicarbonate
3.ให้fluid ให้เพียงพอโดยดูจาก CVP, PCWP และปริมาณปัสสาวะ
4.ส่งเสริมการทํางานของหัวใจ โดยใช้ยากระตุ้นการทำงานของหัวใจ (inotropes)
เช่นdopamine, dobutamine
5.ให้ยา vasopressors เช่น dopamine ขนาดสูง adrenaline, noradrenaline
6.ให้steroid ขนาดสูง
กรณีศึกษา
-ผู้ป่วยได้รับออกซิเจน โดยเครื่องช่วยหายในวันที่30/12/64 ET tube ต่อ ventilator mode PCV RR18 PS16 I:E1:2.2 PEEP5
flow trigger2.0 Fio2 0.6 Ti 1.045
-ปริมาณสารน้ำเข้า-ออกของวันที่12/1/2565 Input 1750
Out put 5300
-วันที่30/12/64
ได้รับยาDopamine(2:1) 20ml/hr
ได้รับยาvasopressors คือยาlevophed(8:250) 30ml/hr
ได้ยาสเตียรอยด์ Hydrocortisone 100 mg IV
titrate ↑↓ ทีละ 3 ml/hr
ได้รับยา7.5% NaHCO3 50mlx2 amp+5%D/W 900ml IV drip 100 ml/hr
Hypovolemic Shock
สาเหตุ
- Acute hemorrhage เกิดจากมีการบาดเจ็บเสียเลือดออกจากระบบไหลเวียนโลหิต
- Water and electrolyte loss จากท้องเสียหรืออาเจียนรุนแรงหรือจาก third space loss เช่นedema, cellulitis
- Burn ทําให้เสียน้ำเกลือแร่และ plasma
อาการและอาการแสดง
โดยส่วนใหญ่จะมีอาการของภาวะความดันโลหิตที่ต่ำลง เช่น ซึมลง หมดสติ ตัวเย็น มือเท้าเย็น หัวใจเต้นเร็ว ปัสสาวะออกน้อยลง หอบเหนื่อย เป็นต้น
กรณีศึกษา
ก่อนreferมารพ.อยุธยาผู้ป่วยมีอาการมีหายใจหอบเหนื่อย มีRetraction
-RR32/min
-BP 83/46
-PR 57/min
-Cr สูง(1.1→4.2)
การรักษา
กรณีศึกษา
-ความดันต่ำแพทย์ให้เป็นNSS1.5L+levophed(8:500) IV rate 10 ml/hr→v/s
BP124/84 mmHg PR 62
-หายใจลำบาก On ET-Tube no7.5 depth 20
การวินิจฉัย
1.การถ่ายภาพเอกซเรย์ แพทย์อาจใช้การตรวจอัลตราซาวด์ (Ultrasound) เอกซเรย์ทั่วไป (X-rays)
2.การตรวจเลือด เพื่อดูปริมาณเลือดที่สูญเสียไป การติดเชื้อในกระแสเลือด
3.การตรวจอื่น ๆ เช่น การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram: ECG) หรือการอัลตราซาวด์หัวใจ
กรณีศึกษา
-ผลตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ(EKG): ผลEKG 12 lead→ Normal sinus rhythm,ST segment elevation
CXR พบcardiomegaly
-
สาเหตุ
1. การติดเชื้อ ได้แก่
-การติดเชื้อไวรัส เช่น norovirus, rotavirus
-การติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น Vibrio cholera, Escherichiacoli, Shigella spp., Salmonella spp
-การติดเชื้อโปรโตซัว เช่น Giardia intestinalis และ
Cryptosporidium parvum
2. สาเหตุอื่นที่ไม่ใช่การติดเชื้อ ได้แก่
-ยาหรือสมุนไพรบางชนิด เช่น ยาระบาย ที่มีส่วนประกอบของแมกนีเซียม
-การระคายเคืองหรือการกระตุ้นจากอาหารบางชนิด เช่นอาหารรสจัด หรืออาหารที่มีฤทธิ์กระตุ้นการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
-เกิดจากการรับประทานสารพิษ (toxin) ที่เจือปนอยู่ใน
อาหาร
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ถามอาการและสาเหตุของผู้ป่วย และตรวจประเมินภาวะขาดน้ำความถี่ของอาการท้องเสีย อาเจียนหรือลักษณะอุจจาระ
-
การรักษา
-ให้สารน้ำทดแทนทางปาก เช่นสารละลายทดแทนทางปาก
-ให้ยาปฏิชีวนะ เช่นยาต้านอาการอาเจียน
ยาบรรเทาอาการอุจจาระร่วง ยาแก้ปวดเกร็งช่องท้อง
-หลังจากหายแล้วดูแลให้รับประทานอ่อน ดื่มน้ำให้มากเป็นการทดแทนสารน้ำขณะมีอาการอุจจาระร่วง
-