Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล - Coggle Diagram
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
ลักษณะของเครื่องมือที่มีคุณภาพ
มีความตรง
ความตรงเชิงเนื้อหา
ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์
ความตรงเชิงโครงสร้าง
มีความเที่ยง
สัมประสิทธ์ของความคงที่
สัมประสิทธิ์ของความสอดคล้องภายใน
มีความเป็นปรนัย
มีความชัดเจนในความหมายของข้อคำถาม
มีวิธีการตรวจให้คะแนนที่ชัดเจน
มีการแปลความหมายคะแนนได้ชัดเจน
จำแนกได้
มีความยุติธรรม
ความสามารถในการนำไปใช้
สะดวกและง่ายต่อการนำไปใช้
ใช้เวลาในการทำพอเหมาะ
การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยใช้โปรแกรม SPSS
การหาค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงและอำนาจจำแนก
2.1 การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค
2.2 การหาค่าสัมประสิทธ์ความเที่ยงของแบบทดสอบด้วยวิธีแบ่งครึ่ง
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ
การวิเคราะห์ค่าความยากของข้อสอบ
ความยากของข้อสอบ = จำนวนผู้ตอบข้อสอบนั้นถูก / จำนวนผู้สอบทั้งหมด
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบด้านความตรง
ความตรงเชิงเนื้อหา
การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ
อำนาจจำแนก = จำนวนคนเก่งที่ตอบถูก - จำนวนคนอ่อนที่ตอบถูก/ จำนวนคนในกลุ่มเก่งหรือจำนวนคนในกลุ่มอ่อน
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบด้านความเที่ยง
วิธีของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน
เป็นการหาค่าความเที่ยงของแบบทดสอบที่มีการตรวจสอบให้คะแนนสองค่าคือ 0 , 1
วิธีแบ่งครึ่ง
เป็นการใช้กรอบแนวคิดของแบบทดสอบคู่ขนานและสร้างข้อคำถามให้มีความยากใกล้เคียงกัน
การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามและแบบวัดทางจิตวิทยา
การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
1.1 การตรวจสอบคุณภาพ แบบสอบถามด้านความตรง
1.2 การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกโดยใช้สรรพสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน
1.3 การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามด้านความเที่ยง
การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยา
2.1 การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยาด้านความตรง
2.1.1 การใช้เทคนิคกลุ่มรู้ชัด
2.1.2 การหาค่าความสัมพันธ์กับเครื่องมือฉบับอื่น
2.1.3 การวิเคราะห์องค์ประกอบ
2.2 การวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกโดยใช้สถิติทดสอบที
2.2.1 ตรวจให้คะแนนข้อคำถามแต่ละข้อ
2.2.2 เรียงคะแนนรวมของนักเรียนแต่ละคนจากน้อยไปมากหรือมากไปหน่อย
2.2.3 การวิเคราะห์ข้อสอบแต่ละข้อ
2.2.4 หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนแต่ละข้อในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ
2.2.5 ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มสูงกลุ่มต่ำในแต่ละข้อโดยใช้สถิติทดสอบที
2.3 การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทางจิตวิทยาด้านความเที่ยง
การตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์และแบบสังเกต
การตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์ด้านความตรง
พิจารณาตรวจสอบเป็นข้อคำถามในการสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์ด้านความเที่ยง
หลายคนสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลคนเดียวกันแล้วตรวจสอบความสอดคล้องของคำตอบ
การตรวจสอบคุณภาพแบบสังเกต
แบบสังเกตด้านความตรง
สังเกตพฤติกรรมโดยอาศัยความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบ ความครอบคลุมของเนื้อหา
แบบสัมภาษณ์ด้านความเที่ยง
2.1 Intrtrater Reliabillity
Intrtrater Rel = จำนวนผู้สังเกตที่เหมือนกัน/จำนวนการสังเกตทั้งหมด
การหาค่าความเที่ยงโดยใช้สรรพสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน