Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจากการทํางาน (Occupational Disease), นางสาวแวเสาะ แวสะมาแอ รหัสนิสิต…
โรคจากการทํางาน (Occupational Disease)
ระบาดวิทยาของโรคจากการทำงาน
การประเมินประสิทธิภาพของวิธีการตรวจคัดกรองโรคหรือ ความผิด ปกติของการใช้สารบางชนิด
ชี่บ่วกลุคนทำงานที่มีความเสี่ยงสูงต่อการบาดเจ็บและการเกิดโรคบางชนิด
ตรวจหรืสืบหาการสัมผัสสิ่งคุกคามหรือสารอันตรายและผลกระทบต่อสุขภาพ
วัดประสิทผลของระบบการป้องกันและควบคุมโรคภัยในสถานที่ทำงาน
การเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน
การเฝ้าระวังทางด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การวัดเสียง
การเฝ้าระวังทางด้านชีวภาพ
การเฝ้าระวังทางการแพทย์ เช่น การตรวจมะเร็งเต้านมการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การศึกษาทางวิทยาการระบาด
วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา (Descriptive study) เป็นศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรคหรือการกระจายของ องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในกลุ่มคนทำงาน ได้แก่ รายงานการเจ็บป่วย การลาป่วย การ เบิกเงินค่ารักษาพยาบาล
วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์ (Analytical study) เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคและองค์ประกอบต่าง ๆ
Prevalence studies หรือ Cross-sectional studies คือ การศึกษา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งในกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษากลุ่มเดียว
Retrospective studies หรือCase-control studiesคือการศึกษา ย้อนหลังโดยเริ่มจากกลุ่มผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยโรคแล้ว (case) นาไปศึกษา เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่เจ็บป่วย
Prospective studies หรือ Cohort studies หรือ Incident studies คือ การศึกษาไปข้างหน้าโดยศึกษาในกลุ่มบุคคลสองกลุ่มที่มีปัจจัยต่างๆ คล้ายคลึงกัน
วิทยาระบาดเชิงทดลอง การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงทดลอง (Experimental Epidemiology) เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผล ช่วยค้นหากลไกหรือ วิธีการรักษาโรค การพัฒนาวิธีการป้องกัน แก้ไข หรือควบคุมโรคหรือปัญหาทางอา ชีวอนามัย
ประเภอโรคและกลุ่มโรคจากการทำงาน
กลุโรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี
การออกฤทธิ์ภายในและภายนอกเซลล์
สารกำจัดศัตรูพืขประเภทสัมผ้สตาย หรือประเภทไม่ดูดซึม
สารกำจัดศัตรูพืชประเภทดูดซึม
จำแนกโดยอาศัยกลุ่มเป้าหมาย
จำแนกโดยโครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของสาร
สารกลุ่มออร์การ์โนคลอรีน
สารกลุ่มแอร์กาโนฟอสเฟต
สารกลุ่มไพรีทรอยด์
กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ
โรคหูตึงจากเสียงดัง
องค์ประกอบที่ทําให้หูตึงหรอื ประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง ได้แก่ ระดับความดันเสียง ความถี่ของเสียง ลักษณะของเสียง ระยะเวลาที่ได้ยิน เสียงความไวต่อการเสื่อมของหู
หูตึงจากเสียงดังอาจเกิดขึ้นเป็นขั้นตอน
หูดึงชั่วคราว
หูดึงถาวร
กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางชีวภาพ
งูกัด
โรคแอนแทรกซ์หรือโรคกาลี
โรคไข้มาเลเรีย
โรคพิษสุนัขบ้า
โรคปอดชานอ้อย (Bagassosis)
โรคเลปโตสโปโรซิส (Leptospirosis)
โรคปอดชาวนา(Farmer's Lung Disease)
โรคบาดทะยัก
กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดขึ้นจากการทำงาน
โรคซิลิโคซิส (Silicosis)
โรคแอสเบสโตซิส(โรคปอดจากแรใ่ยหิน;
Asbestosis )
โรคบิสสิโนซิส (Byssinosis)
กลุ่มโรคผิวหนังจากการทำงาน
โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูกจากการทำงาน
โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
มะเร็งซิโนมา มะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์เยื่อบุ
มะเร็งต่อมนํ้าเหลือง หรือลูคีเมีย
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งซาโคมา มะเร็งที่เกิดจากเซลล์
มะเร็งผิวหนัง มะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของการสร้างเม็ดสีผิว
ความหมาย ลักษณะ และชนิดของโรค
โรคจากการประกอบอาชีพ (occupational Diseases) หมายถึง โรคหรือการเจ็บป่วย ท่ีเกิดขึ้นกับคนทางาน โดยมีสาเหตุจากการสัมผัสส่ิงคุกคามสุขภาพในท่ีทางาน
โรคพิษตะกั่ว
โรคซิลิโคสิส
โรคพิษสาร ตัวทาละลายต่างๆ
โรคเนื่องจากงาน (work-related Diseases) หมายถึง โรคหรือความ เจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทางาน โดยมีสาเหตุจากปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน และ การทางานในอาชีพเป็นปัจจัยหนึ่งของการเกิดโรค
โรคปวดหลัง
โรคเบาหวาน
โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (environmental diseases) หมายถึง ผลกระทบที่เกิด จากมลพิษปนเปื้อน ในดิน น้า อากาศ ทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ที่ทาให้ เกิดโรคหรือผลกระทบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
ปัจจัยให้เกิดโรค
คนทางานหรือผปู้ระกอบอาชีพ
คุณสมบัติพื้นฐาน เช่น เพศ อายุ ความสูง ความอ้วน พันธุกรรม โรคประจาตัว ประสบการณ์การทางาน
พฤติกรรมทางสุขภาพของคนทางาน คนที่เมาขณะขับรถย่อมเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
สภาพการทางานและสิ่งแวดลอ้มในการทางาน
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (physical factors)
ความร้อน ความเย็นแสง
เสียง
อุณหภูมิ
ความชื้น
สภาพแวดล้อมทางเคมี(chemical factors)
สารเคมีในสิ่งแวดล้อมการทํางาน
อากาศที่จําเป็นในการหายใจ
สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
ยุงลายนําโรคไข้เลือดออก
สภาพแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม
ประเพณี
วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม
สิ่งแวดล้อมทั่วไป
สิ่งแวดล้อมนอกสถานประกอบการบ้านเรือนหรือ ชุมชนโดยรอบ สภาพทางภูมิศาสตร์หรือที่ตั้งของสถานประกอบการที่เสี่ยงภัยต่อ การเดินทาง การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลเป็นปัจจัยที่กระทบต่อสุขภาพ คนทางานและคุณภาพของงาน
หลักการวินิจฉัยและการดูแลสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ
การวินิฉัยโรคจากการทำงาน
การซับประวัติผู้ป่วย
ประวัติการทํางานและลักษณะการทํางาน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน และระยะเวลาการทํางานที่สงสัยว่าสัมผัสการก่อโรค
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
โรคประจําตัวของผู้ป่วยและบุคคลในครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยและลักษณะอาการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
เพื่อให้รักษาผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง
ป้องกันการลุกลามของโรค
เพื่อวางแผนดูแลสุขภาพและป้องกันโรค
เพื่อประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายส่งเสริมอาชีพ
การตรวจร่างกายทั่วไป เป็นการตรวจร่างกายผู้ป่วยเพื่อวิเคราะห์ ลักษณะอาการและปัญหาของโรค
การตรวจพิเศษ ตามแต่ปัญหาและอาการแสดงของโรค
โรคและปัญหาสุขภาพจากการทํางานในสถานบริการ
การบาดเจ็บที่เกิดจากการออกแรงกล้ามเนื้อ
การทำงานเวลาเป็นกะ
ภาวะปวดหลัง
การใช้ความรุนแรง
โรคติดเชื้อ
ความปลอดภัยทางรังสี
เสียง
สารเคมี
การสวบสวนโรคหรืออุบัติเหตุ
ในกรณีที่มีการเกิดโรคหรืออุบัติเหตุจากการทางาน ต้องมีการสอบสวนโรค เก่ียวกับการเกิดโรคภัยหรือการบาดเจ็บจากการทางานด้วยการ รวบรวมข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วย ประวัติการทางาน การตรวจ โรคโดยแพทย์ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษต่างๆ พิสูจน์ความถูกต้องได้ เช่น ปัญหาความเครียด จากการทางานในคนงานบางคนอาจแสดงออกในรูปของการเกิดอาการหอบหืด ต้อง ใช้ความระมัดระวังในการวินิจฉัยและวิเคราะห์สาเหตุการเกิดโรค เป็นต้น
นางสาวแวเสาะ แวสะมาแอ
รหัสนิสิต 632051175
สาขาสาธารณสุขศาสตร์