Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนเเปลงทางธรณีวิทยา (บนผิวโลก)ม.2/15 - Coggle Diagram
การเปลี่ยนเเปลงทางธรณีวิทยา
(บนผิวโลก)ม.2/15
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาต่างๆ ได้แก่
การผุพังอยู่กับที่ (Weathering)
การกร่อน (Erosion)
การสะสมตัวของตะกอน (Deposition)
เปลือกโลกหรือผิวโลกมีรูปร่างลักษณะต่างๆ เช่น ภูเขา ที่ราบสูง ถ้ำ ทะเล ลักษณะรูปร่างของพื้นผิวโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มกำเนิด แล้วมีการเปลี่ยนแปลงจากกระบวนการทางธรณีวิทยาจนมีลักษณะรูปร่างอย่าที่เห็นในปัจจุบัน
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาต่างๆ ได้แก่
ประเภทและชนิดของหิน
ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา
การกระทำของน้ำ ลม ธารน้ำแข็ง และสิ่งมีชีวิต
แรงโน้มถ่วงของโลก
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอากาศ
ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ
การผุพังอยู่กับที่ (Weathering)
1.จากลม
2.น้ำฝน
3.กระทำของต้นไม้
4.แบคทีเรียตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร์
สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่
ความร้อน
ความเย็น
น้ำ
น้ำแข็ง
แก็สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ
หมายถึง การที่หินผุพังทำลายลงด้วยกรรมวิธีต่างๆ จากลมฟ้าอากาศกับน้ำฝน รวมทั้งการกระทำของต้นไม้กับแบคทีเรียตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร์ มีการเพิ่ม-ลดอุณหภูมิสลับกัน เป็นต้น สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่ ความร้อน ความเย็น น้ำ น้ำแข็ง แก็สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ
การกร่อน (Erosion)
การกร่อนเป็นกระบวนการที่ทำให้สารที่เป็นองค์ประกอบของเปลือกโลกหลุดออกหรือสลายตัวไปจากผิวโลก
เช่น
กระแสน้ำกัดเซาะเปลือกโลกให้พังทลายเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย
การไหลของน้ำฝน
การกร่อนของชั้นหินดินดานในแม่น้ำ
การกัดเซาะชายฝั่งโดยคลื่น
การกระทบกระแทกโดยธารน้ำแข็ง
การกร่อนโดยกระแสลม
การไหลของน้ำใต้ดิน
การไถล ถล่มของดิน
การสะสมตัวของตะกอน (Deposition)
การสะสมตัวของตะกอนเป็นกระบวนการที่สารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวหรือไอกลายเป็นของแข็ง
เช่น
หินงอกหินย้อยในถ้ำ
ผลึกน้ำแข็ง