Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เสาเข็ม - Coggle Diagram
เสาเข็ม
เสาเข็มสั้น(Friction pile)
ลักษณะการใช้งาน
อาคารเล็กน้ำหนักไม่มาก ยอมให้ทรุดตัวได้ ก่อสร้างบนชั้นดินอ่อน ความยาวประมาณ 6-16 เมตร เสาเข็มที่ความยาวต่ำกว่า6เมตรจะใช้แรงงานคนถ้ามากกว่านั้นต้องให้ปั้นจั่น
ประเภท
เสาเข็มคอนกรีต (Concrete pile)
เสาเข็มคอนกรีตหล่อในที่ ส่วนใหญ่มักเป็นเข็มรูปสี่เหลี่ยมตันขนาดเท่ากันตลอด เนื่องจากสะดวกต่อการใช้งาน
เสาเข็มสำเร็จรูปที่ใช้กันส่วนใหญ่ เป็นเสาเข็มคอนกรีต อัดแรง ทำให้สามารถลดหน้าตัดของเสาเข็มลงได้ และยังสามารถหล่อออกมา ในรูป แบบต่างๆ ซึ่งเหมาะสมแก่การใช้งานแต่ละชนิด และเพื่อประหยัดวัสดุ ทำให้เคลื่อนย้ายได้สะดวก
.
เสาเข็มเจาะ (Bored piles)
เสาเข็มเจาะขนาดใหญ่ (large diameter bored pile)
มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า60 เซนติเมตร
ใช้วิธีการเจาะแบบระบบเปียก(Wet process)
เสาเข็มเจาะขนาดเล็ก (small diameter bored pile)
มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 - 60 เซนติเมตร
ใช้วิธีการเจาะแบบแห้ง (Dry process)
เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง (Prestressed concrete spun pile)
ที่พบเห็นบ่อยมีตั้งแต่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-100 เซนติเมตร
หนา 6-14 เซนติเมตร ยาว 6-18 เซนติเมตร
การตอก ได้ทั้งวิธีธรรมดาและวิธีระบบเจาะกด
เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง (Prestressed concrete pile)
เสาเข็มที่นิยมใช้กันมากสําหรับอาคารพาณิชย์ และบ้านพักอาศัยทั่วไป การลงเสาเข็มจะเป็นการตอกกระแทกลงไปในดินโดยใช้ปั้นจั่น และเป็นวิธีที่ไม่ซับซ้อน ประหยัดค่าใช้จ่าย
เสาเข็มเหล็ก (Steel pile)
มีกำลังสูง ทนการตอกได้ดี เหมาะกับการใช้ตอกผ่านชั้นทรายลงไปยังชั้นดินแข็งเบื้องล้าง โดยฐานรากเข็มเหล็กจะใช้แรงยึดกับผิวหน้าดินในการทำให้อาคารแข็งแรง โดยใช้รูปทรงที่เป็นเกลียวเหมือนสกรูที่มีฟิน ในการเพิ่มการรับน้ำหนักได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังทำให้ดินโดยรอบแน่นขึ้น
เสาเข็มไม้ (Timber pile)
ใช้ในงานก่อสร้างขนาดเล็ก ราคาถูก หาได้ง่าย ใช้กันทั่วไป
มีตั้งแต่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 4เมตร ถึง 6 นิ้ว ยาว 6เมตร
ใช้วิธีการเจาะแบบแห้ง (Dry process)
วิธีการ
ขั้นตอนที่1
ทําการติดตั้งขาหยั่งและปรับตําแหน่งให้ได้ศนูย์กลางของเสาเข็ม เริ่มจากยกกระเช้าตอกเจาะดินเพื่อนําปลอกเหล็กลงไปป้องกันดินพัง จนถึงชั้นดินที่มีความแน่นพอ และสังเกตดูให้เห็นว่าไม่มีน้ำใต้ดินแล้ว
จากนั้นก็ทำการเจาะตักดินขึ้นมาเรื่อยๆ จนถึงระดับที่ตีต้องการ ที่ความลึกประมาณ 20-25 เมตร ก็จะเริ่มเจอกับชั้นทรายซึ่งก็จะมีน้ำ ใต้ดินดันเข้ามา และจะต้องหยุดการเจาะทันทีเมื่อเริ่มพบชั้นทราย
ขั้นตอนที่2
ต้องปรับสภาพก้นหลุมให้สมบรูณ์ โดยการผสมคอนกรีตแห้งในอัตราส่วน 1:2:4 เทลงไปที่ก้นหลุมประมาณ 0.25 ลูกบาศก์เมตรแล้วกระทุ้งด้วยลูกตุ้มจนแน่น เพื่อทําให้ก้นหลุมแห้ง สะอาดและแน่นเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ(bearing capacity) ในการรับน้ำหนักของเสาเข็มและช่วยลดการทรุดตัว (settlement) ของเสาเข็ม
ขั้นตอนที่3
นำเหล็กเสริมที่ผูกเสร็จแล้วมาหย่อนลงไปในหลุมทีละท่อนจนถึงระดับ
(ทั่วไปมักทำท่อนละ 5 เมตร เพื่อสะดวกต่อการหย่อนลงหลุมแล้วทำการ
ผูกมัดแต่ละท่อนแล้วทำการผูกมัดแต่ละท่อนให้หนาแน่น
ขั้นตอนที่4
การเทคอนกรีตวิธีที่ถูกต้องคือใช้ท่อส่งคอนกรีตลงไปก้นหลุมก่อนแล้วค่อยๆขยับท่อขึ้นมาพร้อมๆกับเทคอนกรีตไปเรื่อยๆ คอนกรีตที่ใช้ควนรเทให้สูงกว่าระดับที่ต้องการอีกอย่างน้อย 0.5-1เมตร เพื่อให้คอนกรีตไปทดแทนส่วนปลอกเกล็กที่ถอดออก
ขั้นตอนที่5
เมื่อเทคอนกรีตเสร็จจะถอนเหล็กปลอกทันที
อุปกรณ์
กระเช้าตักดิน
ปลอกเหล็ก
ลูกตุ้ม
ขาหนั่งสามขา
เครื่องกว้านลม
ใช้วิธีการเจาะแบบระบบเปียก(Wet process)
วิธีการ
ขั้นตอนที่3
นำเหล็กเสริมที่ผูกสำเร็จแล้วมาหย่อนโดยใช้รถเครนยกเหล็กเสริมลงในหลุมทีละท่อน จนถึงระดับที่ต้องการ ผูกมัดแต่ละท่อนด้วยคลิปหรือเชื่อมไฟฟ้า
ขั้นตอนที่4
เทคอนกรีต ต้องใช้ท่อส่งคอนกรีตหย่อยลงไที่ก้นหลุมก่อนแล้วค่อยๆขยับขึ้นมาพร้อมเทคอนกรีตอยู่ตลอด ปลาอยท่อควรจุ่มในคอนกรีต 2 เมตร
ขั้นตอนที่2
เมื่อใส่เหล็กปลอกเรียบร้อย รถเครนใช้เครื่องเจาะแบบสว่านเจาะไปจนถึงชั้นทรายหรือชั้นที่มีน้ำใต้ดิน ซึ่งจะให้เริ่มปล่อยน้ำผสมกับสารเบนโทไนต์ลงไปในหลุมเจาะ จะช่วยไม่ให้หลุมพังและเคลือบผนังหลุม เมื่อเจาะแล้วต้องนำดินขึ้นมาทิ้งตลอดพร้อมเติมสารเบนโทไนต์ตลอด
ขั้นตอนที่1
ตรวจสอบตำแหน่งศูนย์กลางของเสาเข็ม ให้รถเครนยกเหล็กปลอกตั้งขึ้น ใช้เครื่องเขย่ากดให้ปลอกจมจนถึงชั้นดินแข็งปานกลางประมาณ 10-15 เมตร (ตรวจสอบตำแหน่งศูนย์กลางและดิ่งของเหล็กปลอกตลอกดเวลา
ขั้นตอนที่5
การถอนปลอกเหล็ก ต้องใช้เครื่องเขย่ารีบถอนปลอกเหล็กออกทันที หาวัสดุมาปิดปากหลุมป้องกันอันตราย หากมีการเจาะเสาเข็มต้นต่อไปต้องเว้นระยะห่สงไปที่ต้นอื่นอีกอย่างน้อย6เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็มนั้น ป้องกันการได้รับการกระทบกระเทือน
อุปกรณ์
เครื่องเขย่า
ปลอกเหล็ก
เครื่องเจาะสว่าน
สารเบนโทไนต์
รถเครนโครงถัก
เสาเข็มยาว (Bearing pile)
อาคารที่มีน้ำหนักมากและไม่ต้องการให้มีการทรุดตัวของอาคาร ก่อสร้างอยู่บยชั้นดินอ่อน ความยาวของเสาเข็มยาวมากกว่า 21 เมตร ปกติแล้วจะแบ่งเป็น3ท่อนแล้วค่อยๆตอกลงไปด้วยปั้นจั่น
จัดทำโดย
63363249 นลินนิภา อินสม