Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chronic kidney disease - Coggle Diagram
Chronic kidney disease
พยาธิสภาพ
เกิดจากการเสื่อมของไต และการถูกทําลายของหน่วยไต
มีผลทําให้การกรองหมดลดลงและการขับถ่ายของเสียลดลงค่า ปริมาณ Creatinine และ BUN ในเลือดสูงขึ้น
หน่วยไตที่เหลืออยู่จะเจริญ มากผิดปกติเพื่อกรองของเสียที่มีมากขึ้น
ระยะของโรค
-
ระยะที่ 2 หรือค่า eGFR อยู่ในช่วงระยะ 60 - 89% เป็นระยะที่เราจะเริ่มประเมินและชะลอการเสื่อมของโรคไตเรื้อรัง
ระยะที่ 3 หรือค่า eGFR อยู่ในช่วงระยะ 30 - 60% เป็นระยะที่แพทย์จะเพิ่มการดูแลภาวะแทรกซ้อนของไต และต้องระวังในเรื่องของโรคหัวใจที่จะเป็นภาวะแทรกซ้อนและทำให้ผู้ป่วยโรคไตเสียชีวิตได้มาก
ระยะที่ 4 หรือค่า eGFR น้อยกว่า 30% เราจะต้องเริ่มคุยกันเรื่องการทำบำบัดทดแทนไต เพราะการฟอกไตไม่ว่าจะฟอกเลือดด้วยเครื่องฟอกไตเทียม การฟอกไตทางหน้าท้อง หรือการปลูกถ่ายไต
ระยะที่ 5 เมื่อ eGFR น้อยกว่า 15% แพทย์จะเริ่มการบำบัดทดแทนไต ตามที่ได้ปรึกษากันแล้วก่อนหน้านี้ โดยเริ่มการบำบัดทดแทนไตในเวลาที่เหมาะสม
-
ปัจจัยเสี่ยง
Dm
1.การเป็นเบาหวานทำให้เซลล์ต่างๆ รวมทั้งเซลล์ของไตขาดพลังงานอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้เซลล์เสื่อมสภาพการทำงานต่างๆ ก็ทำได้ไม่ดีดังเดิม ทำให้กลไกของไตเสื่อมไปด้วย
2.การที่ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงอยู่ตลอดเวลา จะทำให้ไตทำงานหนักจนเกิดการเสื่อมสภาพ เพราะไตมีหน้าที่กรองสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายให้คงไว้ในร่างกายให้มากที่สุด และน้ำตาลก็เป็นสารอาหารที่ดี ดังนั้นไตจึงต้องทำงานหนักตลอดเวลาหากน้ำตาลในเลือดสูง ทั้งนี้ ไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยไตประมาณ 1 ล้านหน่วย แต่ละหน่วยประกอบด้วยตัวกรอง และหลอดไต ในแต่ละวันมีเลือดไหลเวียนผ่านไตประมาณ180 ลิตร และหน่วยไตจะกรองและคัดหลั่งสารต่างๆ และขับออกมาเป็นปัสสาวะวันละประมาณ 1 ลิตรเราจะมีชีวิตอยู่ได้ด้วยไตเพียงข้างเดียว
HT
ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุอันดับที่สองของโรคไตเรื้อรัง เช่นเดียวกับระดับกลูโคสในเลือดสูง ภาวะความดันโลหิตสูงยังสามารถทำลายหลอดเลือดที่ไตได้ เกือบ 1 ใน 5 รายของผู้ใหญ่ที่มีความดันโลหิตสูงเป็นโรคไตเรื้อรัง1
-
สาเหตุการเกิดไตวาย
ภาวะไตวายเฉียบพลัน ภาวะที่มีการสูญเสียหน้าที่ของไตอย่างรวดเร็วในเวลาไม่กี่ชั่วโมงจนถึง 2-3 วัน ทำให้มีการคั่งค้างของของเสียในร่างกาย สาเหตุเกิดจากการทำหน้าที่ของไตจะพบว่ามีจำนวนปัสสาวะน้อยกว่าปกติ oliguria คือน้อยกว่า 400-500 มิลลิลิตร
สาเหตุที่เกิดขึ้น
สาเหตุก่อนไต เกิดขึ้นจากปริมาณการไหลเวียนที่ผ่านไตน้อยทำให้อัตราการกรองผ่าน ปัสสาวะจึงลดลงด้วย
หน้าที่ของไต
ไตทำหน้าที่ รักษาภาวะสมดุลของน้ำ เกลือแร่ และกรดด่างในร่างกาย ประกอบด้วยเนฟรอน1 ล้านหน่วย แต่ละหน่วยมีโกลเมอรูลัส ทำหน้าที่กรองเลือดเพื่อแยกเอาน้ำและสารต่างๆออกมา
การรักษา
การปลูกถ่ายไต (kidney transplantation: KT) การนําไตใหม่มาปลูกถ่ายไว้ที่ผนังหน้าท้องของผู้ป่วย เพื่อทําหน้าที่แทนไตเก่าที่เสื่อมสภาพ
การล้างไตทางช่องท้อง (peritoneal dialysis : PD)
คือการขจัดของเสียออกจากร่างกายโดยการใส่น้ำยาเข้าไปในช่องท้องทิ้งไว้ 4-6 ชั่วโมงต่อรอบ
ภาวะแทรกซ้อน
ไตวาย: ไตวายเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้โพแทสเซียมสูงผิดปกติ เมื่อไตวายหรือทำงานไม่ปกติ ไตจะไม่สามารถกำจัดโพแทสเซียมส่วนเกินออกจากร่างกายได้ ทำให้เกิดการสะสมโพแทสเซียมในเลือดได้
ภาวะน้ำเกิน
ภาวะน้ำเกินพบได้ทั่วไปในคนที่เป็นโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease หรือ CKD) และไตวาย เนื่องจากไตไม่สามารถกำจัดของเหลวส่วนเกินออกจากร่างกายได้ ทำให้มีของเหลวต่าง ๆ สะสมอยู่ในร่างกายมากเกินไปจากที่ร่างกายต้องการ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
-
การพยาบาล
1ควบคุมอาหารโดยให้อาหารที่ทีเเดลอรี่เเละคารโบไซเดรทสูง ลดโปรตีนโดยให้เเคลอรี่เเละไซเดรทสูง ลดโปรตีนโดยให้เเคลอรี่30-35 กิโลเเคลอรี่ต่อน้ำหนัดตัว1กกต่อวัน เพื่อป้องกันการเเตกสลายของโปรตีนในเนื้อเยื่อ(Bruner&suddarth 1984:174 และให้ได้รับโปรตีนที่จำเป็นต่อร่างกายประมาณ0.5กรัมต่อน้ำหนัก1กก.ต่อวัน
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน ซึ่งจะช่วยให้ไตได้พักและมีโอกาสซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและมีการลดขบวนการเผาผลาญสารอาหารด้วย
- สังกตและป้องกันการตกเลือดในทางเดินอาหาร เนื่องจากโปรตีนในเลือดจะถูกสลายให้เเอมโมเนียโดยเชื้อเเบคทีเรียในลำใส้ โดยในภาวะที่ผู้ป่วยเกล็ดเลือดต่ำ ก็ดูเเลให้ยาตามเเผนการรักษา
- ดูแลและเตรียมผู้ป่วยในรายที่มีแผนการรักษาให้ทำไดอะไลซีส (dialysis)