Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการวิจัย, บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย - Coggle Diagram
การออกแบบการวิจัย
ประโยชน์
ช่วยกำหนดกลุ่มตัวอย่าง
ช่วยให้นักวิจัยเลือกใช้วิธีการทางสถิคิที่เหมาะสม
ช่วยกำหนดและสร้างเครื่องมือ
ที่ใช้ในการวิจัย
ช่วยประเมินวางแผนเกี่ยวกับทรัพยากร
ช่วยให้นักวิจัยวางแผนการดำเนินงาน
และควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้
ช่วยประเมินความถูกต้องของวิจัย
การออกแบบวิจัยที่ดี
สามารถควบคุมตัวแปรภายนอกได้
มีการใช้สมมติฐาน
ในการทดลองที่ถูกต้อง
ปราศจากความสับสน
ปราศจากความลำเอียง
หลักการออกแบบ
ผลการวิจัยต้องเที่ยงตรง
ทั้งภายในและนอก
ความเที่ยงตรงภายใน
ไม่มีตัวแปรแทรกซ้อนหรือรับ
ผลมาจากตัวแปรอิสระโดยตรง
ความเที่ยงตรงภายนอก
สามารถอ้งอิงกลุ่มวิจัย
ตัวอย่างไปยังประชากรได้
ต้องคำนึงถึงหลัก Max Min Con Principle
การออกแบบการวิจัยต้องให้
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
หลักการควบคุมความ
แปรปรวนของตัวแปร
ลดความแปรปรวนแบบสุ่มให้ต่ำที่สุด
ความคลาดเคลื่อนแบบระบบ
ความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม
ความคุมความแปรปรวน
ที่เกิดขึ้นจากตัวแปรแทรกซ้อน
การกำจัดตัวแปรเกิน
การจับคู่
การสุ่ม
การใช้สถิติ
ใช้ตัวแปรแทรกซ้อนมาศึกษา
ตัวแปรต้นมีค่าแปรปรวนมากสุด
ข้อควรคำนึงถึง
ความแม่นตรงภายใน
ปัจจัยของตัวแปรอิสระ
ความแม่นตรงภายนอก
นำผลวิจัยไปอ้างอิง
บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย