Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปองค์ความรู้ เรื่องนมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอาจริยคุณ - Coggle…
สรุปองค์ความรู้ เรื่องนมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอาจริยคุณ
ลักษณะคําประพันธ์
พระยาศรีสุนทรโวหารเรียกฉันท์ที่ใช้ในการแต่งบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจารยคุณว่า“ อินทะวะชิระฉันท์” แต่โดยทั่วไปเรียกว่า "อินทรวิเชียรฉันท์" ซึ่งมีการบังคับครและสห แต่ผู้แต่งคือพระยาศรีสุนทรโวหารเลือกให้ความสําคัญกับเนื้อหาโดยเลือกสรรที่ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึกและใช้สําหรับเป็นบทบูชาสรรเสริญมากกว่าการแต่งให้ถูกฉันทลักษณ์อย่างไรก็ตามเพื่อน ๆ ก็สามารถอ่านให้ถูกฉันทลักษณ์ได้เช่นคำว่าชนนี่สามารถอ่านว่าชะ-นะ-นีเป็นต้นอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ หมายถึงฉันท์ที่มีลีลาอันรุ่งเรืองงดงามประดุจสายฟ้าซึ่งเป็นอาวุธของพระอินทร์อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ นิยมใช้ในการแต่งข้อความซึ่งเป็นบทชมบทคาครวญและใช้แต่งเป็นบทพากย์โขน
ประวัติผู้แต่ง
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เป็นกวีคนสำคัญในสมัยรัชกาลที่ ๕ ท่านได้รับสมญานามว่าเป็น ศาลฎีกาภาษาไทย เพราะเป็นผู้แต่งตำราชุดแรกของไทย เรียกว่า “แบบเรียนหลวง”
เนื้อหา
นมัสการมาตาปิติคุณ
ข้อคิด
ไม่มีพระคุณของผู้ใดจะยิ่งใหญ่เท่ามารดา
บทนมัสการมาตาปิตอคุณมีเนื้อหากล่าวสรรเสริญพระคุณของบิดา มารดาที่กว้างใหญ่ไฟศาล
บทนมัสการอาจริยคุณ
ข้อคิด
ครูเป็นผู้ชี้แจงอบรมสั่งสอนทั้งวิชาความรู้และความดีทางจริยธรรมพระคุณของคุณครูนั้นนับว่าเป็นรองแค่บิดามารดาเท่านั้น
บทนมัสการอาจริยคุณมีเนื้อหาสรรเสริญพระคุณของครูผู้เปี่ยมไปด้วยจิตเมตตากรุณาที่จะอบรมสั่งสอนลูกศษย์ให้เห็นทางที่ถูกต้อง
ลักษณะคำประพันธ์
ลักษณะคำประพันธ์ คำนมัสการคุณานุคุณแต่ละตอนแต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทต่างๆดังนี้
1.อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ เป็นฉันท์ที่นำมาแต่งคำนมัสการคุณานุคุณ มาตาปิตุคุณ และอาจริยคุณ 2.กาพย์ฉบัง ๑๖ กาพย์ฉบัง ๑๖ เป็นกาพย์ที่นำมาแต่งคำนมัสการพระธรรมคุณและพระสังฆคุณมีลักษณะบังคับ
จุดประสงค์
นมัสการมาตาปิติคุณ
เพื่อสรรเสริญพระคุณของบิดามารดา
นมัสการอาจริยคุณ
เพื่อสรรเสริญพระคุณครู
ความเป็นมา
เป็นบทประพันธร์ วมพิมพ์ในภาคเบ็ดเตล็ด
หนังสือชุดภาษาไทยเล่มที) ๒ ของพระยาศรสี ุนทรโวหาร(น้อย อาจารยางกูร)
เพื่อนมัสการและสรรเสรญิ พระคุณของครอาจารย์ที่ได้อบรมสั่งสอนและใหค้ วามรูแ้ ก่ศิษย์ทั้งหลาย
คุณค่าด้านเนื้อหา สังคมและข้อคิด
คุณค่าด้านสังคม
การนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน
เพื่อใหผู้อ่านได้ประจักษ์ในคุณค่าของชวีตได้นําแง่คิดและประสบการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ไปใชใ้นการดําเนินชีวิตหรือเป็นแนวปฏิบัติในการแก้ปัญหา
คุณค่าด้านเนื้อหา
-การลําดับความได้ชดั เจนคํานมัสการมาตาป
ตุคุณและอาจรยิคุณมีการลําดับเนื้อหาอยา่งเหมาะสม ชัดเจน โดยในคํานมัสการมาตาป
ตุคุณมีการกล่าวถึงบทบาทหน้าที)ของพ่อแม่ที)คอยเลี้ยงดูลูกจนเติบใหญ่ ตลอดจนความยงิ) ใหญ่ของบุญคุณของพ่อแมและป
ดท้ายด้วยการการสอนใหเ้ด็ก ๆรูจ้ ักกตัญญูรูค้ ุณต่อผู้ใหก้ ําเนิดเช่น เดียวกับคํานมัสการอาจารยิคุณที)กล่าวถึงบทบาทหน้าที)ของครูอาจารย์ที่คอยสั่งสอนและใ
ห้ความรู้ทัง้ทางธรรมและทางโลกตามด้วยการกล่าวถึงบุญคุณของคุณครูซึ่งเด็ก ๆ
ควรเคารพและขอบคุณเป็นอย่างยึ่งมีการสอนจรยิธรรมจะเห็นได้ว่าบทเรยีนเรื่องนี้
เป็นสิ่งที่เพื่อน ๆ นําไปใช้ได้จริงด้วยการรู้จักสํานึกในพระคุณของบิดามารดาและครูอาจาร
ย์นับเป็นการใช้บทประพันธเ์พื่อปลูกฝังจริบธรรมได้เป็นอย่า
งดี
คุณค่าด้านวรรณศิลป
การซ้ำคำ
มีการใช้คำที่ออกเสียงเหมือนกันมาวางไว้ในตำแหน่งใกล้กัน แต่มีการใช้คำอื่นแทรกลงไปทำให้การออกเสียงมีความคมคายไพเราะและยังเพิ่มความหมายที่น่าสนใจเช่นก็บเทียบบ่เทียมทันมีการใช้คำว่า "บ่" แทรกกลางระหว่างคำว่า“ เทียบ "และ" เทียม "ห้ออกเสียงคล้ายคลึงกัน
การเล่นเสียง
การเล่นเสียงพยัญชนะหากเล่นเสียงพยัญชนะเดียวกับหรือใกล้เคียงกันจะทำให้เกิดการกระทบกันของเสียงช่วยให้เกิดความไพเราะเช่นข้าขอนบชนกคุณมีการใช้คำว่าข้าและขอเป็นเสียงฃเหมือนกันและใช้คำว่า (ซ) นกและนบซึ่งเป็นเสียงนเหมือนกันเป็นต้น-การเล่นเสียงสระมีการเล่นเสียงสระที่เป็นเสียงเดียวกันทําให้เวลาอ่านเกิดการส่งสัมผัสที่น่าฟังเช่นตรากทนระคนทุกข์มีการเล่นเสียงสระโอะโดยใช้คำว่าทนและ (ระ) คน
การใช้ภาพพจน์
มีการใช้ภาพพจน์เพื่อเปรียบเทียบระหว่างบุญคุณของพ่อแม่กับสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เห็นถึงความสำคัญและความยิ่งใหญ่ของพระคุณของท่านโดยผู้ประพันธ์ได้ใช้ "อุปลักษณ์" ในการเปรียบเทียบ
การเลือกสรรคำ
ผู้ประพันธุ์ได้เลือกคำที่เหมาะสมในการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกการใช้คำที่เป็นการยกระดับในการเดินเรื่องเช่นชนกชนนีเป็นต้นและยังพยายามใช้คำเพื่อให้คนเห็นภาพเช่นโอบเอื้อเจือจุนเป็นต้นโดยส่วนใหญ่ผู้ประพันธ์ใช้คำที่เรียบง่ายอ่านแล้วเข้าใจได้ในทันที
การนำไปประยุกใช้ในชีวิตประจำวัน
พื่อให้ผู้อ่านได้ประจักษ์ในคุณค่าของชีวิตได้ความคิดและประสบการณ์จากเรื่องที่อ่านและนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตนำไปเป็นแนวปฏิบัติหรือแก้ปัญหา
นายธนภัทร เพ็ชรยอด ชั้นม.4/5 เลขที่ 9