Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบย่อยอาหาร (Digestive system) - Coggle Diagram
ระบบย่อยอาหาร (Digestive system)
ท่อทางเดินอาหาร (Gastrointestinal tract)
กระเพาะอาหาร (Stomach)
Cardia : เป็นส่วนต่อมาจากหลอดอาหาร
Body : เป็นส่วนกลางของกระเพาะอาหาร
Fundus : เป็นส่วนโค้งด้านบนสุดของกระเพาะอาหาร
Pylorus เป็นส่วนปลายของกระเพาะอาหารก่อนเข้าลำไส้เล็กส่วนต้น
หน้าที่
เป็นที่พักและกักเก็บอาหาร
สร้างเอนไซม์และขับน้ำย่อย (Gastric juice)
คลุกเคล้าอาหารให้ผสมกับน้ำย่อย
ลำไส้เล็ก (Small intestine)
เริ่มตั้งเเต่ pyloric sphincter ไปจนถึง ileocaecal valve จึงเปิดเข้าสู่ลำไส้ใหญ่
หน้าที่
หลั่งน้ำย่อย
เคลื่อนไหวเพื่อคลุกเคล้าอาหารให้ผสมกับน้ำย่อยต่างๆ และทำให้อาหารเคลื่อนที่ไปตามท่อของลำไส้เล็ก
ลำไส้เล็กส่วนต้น : Duodenum
ยาวประมาณ 10 นิ้ว เริ่มจาก pyloric sphincter duodenojejunal flexor ไม่มีเยื่อแขวนลำไส้
ลำไส้เล็กส่วนกลาง : Jejunum
ยาวประมาณ 8 ฟุต มีการดูดซึมไขมันและ B12 มาก
ลำไส้เล็กส่วนปลาย : Ileum
ยาวประมาณ 12 ฟุต เป็นส่วนที่มีการดูดซึมมากที่สุด ติดต่อกับลำไส้ใหญ่ส่วนต้น บริเวณ ileocaecal vavle
ผนังของลำไส้เล็กมี 4 ชั้น
2.Submucosa
3.Muscularis
1.Mucosa พบ globetrotter cell , Villi หลอดน้ำเหลือง Lacteal , Intestinal crypt
4.Serosa
หลอดอาหาร (Esophagus)
หน้าที่
เป็นทางผ่านของอาหารที่เคี้ยวแล้ว โดยการบีบตัวเป็นคลื่นของหลอดอาหารให้ส่งอาหารไปสู่กระเพาะอาหาร โดยการกระตุ้นของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10
เริ่มจากปลาย laryngopharynx และ ลอดผ่านกะบังลมทางรูเปิดที่เรียกว่า esophageal hiatus สิ้นสุดโดยเปิดเข้าสู่ส่วนบนของกะเพาะอาหาร
ลำไส้ใหญ่ (Large intestine)
ยาวประมาณ 1.5 เมตร เริ่มตั้งเเต่ลำไส้ใหญ่ส่วน Cecum ไปจนถึง Anus ลำไส้ใหญ่แบ่งได้ดังนี้
2.Colon พบ Ascending colon,Transverse colon,Descending colon,Sigmoid colon
3.Rectum ต่อจาก Sigmoid colon เริ่มต้นจาก S3 รูปร่างโค้งตามความโค้งของ sacrum,coccyx ส่วนปลายสุดจะหักขึ้นไปด้านหลังและลงข้างล่างแคบเป็น anal canal มีกล้ามเนื้อที่สำคัญ 2 มัด คือ Internal anal sphincter (smooth muscle),
External anal sphincter (skeletal muscle) ทางด้านล่างของ rectum ในผู้ชายอยู่หลังต่อมลูกหมาก ในผู้หญิงอยู่หลัง Vagina
1.Cecum พบ Ileocaecal vale , Vermiform appendix
ผนังของลำไส้ใหญ่มี 4 ชั้น
Submucosa
Muscularis พบ taeniae coli แรงตึงตัวทำให้เกิด haustra
Mucosa ไม่มี villi และ มี goblet cells จำนวนมาก
Serosa ผนังนี้มีไขมันมาสะสมเป็นติ่งไขมันเรียกว่า epiploic appendage
หน้าที่
ดูดน้ำและสารละลายบางอย่างกลับเข้าสู่ร่างกาย เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างน้ำกับสารละลายภายในร่างกาย
ขับถ่ายกากเหลือจากการย่อยอาหาร
คอหอย (Pharynx)
หน้าที่
ช่วยในการทำให้เกิดเสียง
เป็นทางผ่านของอาหารจากปากไปสู่หลอดอาหาร
ทวารหนัก (Anus)
ปาก (Mouth)
เยื่อบุช่องท้อง (Peritoneum)
หน้าที่
ป้องกันการกระจายของเชื้อโรค
แขวนอวัยวะต่างๆให้คงอยู่ในตำแหน่งและเป็นที่เกาะของหลอดเลือด หลอดน้ำเหลือง เส้นประสาท
สร้าง Peritoneal fluid มาหล่อลื่น เพื่อลดแรงเสียดทาน เมื่ออวัยวะภายในมีการเคลื่อนไหว
โครงสร้างของผนังท่อทางเดินอาหาร
ชั้นกล้ามเนื้อเรียบ (Muscularis esterna)
ชั้นใต้เยื่อเมือก (Submucosa)
Serosa (Adventitia)
ชั้นเยื่อเมือก (Mucosa)
อวัยวะเสริมในการย่อยอาหาร Accessory digestive organs)
ต่อมน้ำลาย (Salivary glands)
หน้าที่
สร้างน้ำลาย (saliva) และถูกขับออกมาเข้าไปในช่องปาก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
Minor salivary glands
Major salivary glands
ต่องน้ำลายข้างกกหู (Parotid Gland)
ต่อมน้ำลายใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibulary Gland)
ต่อมน้ำลายใต้ลิ้น (Sublingual Gland)
ตับ (Liver)
Falciform ligament
ยึดผิวด้านหน้าของตับไว้กับกะบังลมและผนังหน้าท้อง
Round ligament of liver (ligamentum teres hepatis)
ยึดระหว่างตับกับสะดือ ซึ่งเป็นส่วนเหลือของ umbilical vein ในตัวอ่อน
Coronary ligament
ยึดผิวด้านบนของตับไว้กับกะบังลม
Lesser omentum
ยึดขั้วตับไว้กับกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น
หน้าที่
สร้างน้ำดีขับออกสู่ลำไส้เล็กสำหรับย่อยและดูดซึมสารอาหารพวกไขมัน
เก็บสะสมอาหาร
กำจัดและทำลายพิษของยาและฮอร์โมนบางชนิด
สร้างเม็ดเลือดแดงในทารก
ช่วยเผาผลาญสารอาหารต่างๆ
สลาย HB ของเม็ดเลือดแดงให้เป็นโกลบิน และฮีม
สร้างสารป้องกันการแข็งตัวของเลือด
สร้างโปรตีน
สังเคราะห์กรดอะมิโน
ลิ้น (Tongue)
หน้าที่
คลุกเคล้าอาหาร ช่วนในการกลืนและช่วยในการออกเสียง
รับรสอาหารชนิดต่างๆได้โดยมีต่อมรับรส (Taste bud)
กล้ามเนื้อของลิ้น
Extrinsic muscle of tongue
Hyoglossus
ทำหน้าที่ : กดลิ้นลง
Stylogossus
ทำหน้าที่ : ดึงลิ้นไปข้างหลังทั้งอันและยกโคนลิ้นขึ้น
Genioglossus
ทำหน้าที่ : ทำ 2 ข้าง จะแลบลิ้นออกมาตรงๆทำข้างเดียว ทำแลบลิ้น โดยที่ปลายลิ้นแฉไปด้านตรงข้าม
Palatoglossus
ทำหน้าที่ : ยกโคนลิ้น
Intrinsic muscle of tongue
longitudinal (superior & inferior)
transverse
vertical muscles
intrinsic muscles ถูกเลี้ยงด้วย hypoglossal nerve
ถุงน้ำดี (Gallbladder)
หน้าที่
ทำให้น้ำดีที่คัดหลั่งจากตับเข้มข้นขึ้น เพื่อปล่อยสู่ลำไส้เล็กทาง common bile duct
ถุงน้ำดีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
Fundus
Body
Neck
ระบบทางเดินน้ำดีประกอบด้วย
Common hepatic duct
Cystic duct
Common bile duct
ฟัน (Teeth)
คอฟัน (Neck)
รากฟัน (Root)
ตัวฟัน (Crown)
หน้าที่
ช่วยรักษาขนาดและรูปร่างของขากรรไกร
ช่วยในการเคี้ยวอาหารและบดอาหาร
ช่วยในการทำเสียงเวลาพูด
ฟันในคน มี 2 ชุด เรียกว่า dentition
ฟันชุดที่ 2 ฟันแท้ (Permanent teeth) มีจำนวน 32 ซี่ เริ่มงอกอายุประมาณ 6 ปี
ฟันน้ำนม (Deciduous teeth) เป็นฟันชุดแรกมี 20 ซี่ เริ่มงอกอายุประมาณ 6 เดือน
ตับอ่อน (pancreas)
แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ
Head
Body
Tail
ท่อของตับอ่อน
Main pancreatic duct ไปรวมกับ common bile duct รวมเป็น hepatopancreatic ampulla แล้วเปิดเข้าสู่ลำไส้เล็กทาง Major duodenal papilla
Accessory pancreatic duct เปิดเข้าสู่ลำไส้เล็กทาง Minor duodenal papilla
หน้าที่
สร้างน้ำย่อย (pancreatic juice)
สร้าง glucagon,insulin