Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gastrointestinal perforations, ความหมาย, สาเหตุ, อาการ, การวินิจฉัย,…
Gastrointestinal perforations
เป็นภาวะที่เกิดจากการมีการอักเสบ (inflammation) ต่ออวัยวะและเนื้อเยื่อในช่องท้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก การติดเชื้อ (infection), การแตกทะลุของอวัยวะที่เป็นท่อในช่องท้อง(rupture of hollow viscus) ซึ่งอาจจะมีสาเหตุมาจากติดเชื้อหรือการอุดกั้นของอวัยวะเหล่านั้น, ภยันตรายต่อช่องท้อง (abdominal trauma), และภาวะอักเสบเนื่องจากสาเหตุอื่นๆ เช่น pancreatitis, การเกิด vasculitis ischemia ของอวัยวะต่างๆ และภาวะเลือดออกในช่องท้องเป็นต้น
• Necrotizing entero colitis (NEC)
• Postnatal bowel perforations secondary to obstruction, or inflammation eg. atresia, stenosis, Hirschsprung’s disease, colitis and enteritis of any causes
• Intrauterine bowel perforations (Meconium peritonitis syndrome) มักพบร่วมกับ meconium ileus หรือ mechanical obstruction อื่นๆ เช่น intestinal atresia, หรือ Hirschsprung’s disease เป็นต้น
• Spontaneous perforation of bile duct
• Spontaneous gastric perforation
• Neonatal ascites (bile, chyle, urine)
ไม่ยอมดูดนมหรือมีอาหารค้างเหลือในกระเพาะก่อนการให้อาหารมื้อต่อไปในเด็กอ่อนที่ได้รับ gavage feeding
abdominal pain and tenderness อาจจะร้องกวน แต่ส่วนใหญ่พบว่าทารกมักจะซึมลง และมีปฏิกริยาตอบสนองต่อการกดผนังหน้าท้องโดยการเกร็งผนังหน้าท้อง
abdominal distention
อาการแสดงอื่นๆ ได้แก่ อาการแสดงทั่วไปของภาวะอักเสบและการติดเชื้อ เช่น อาการไข้, ชีพจรเร็ว, ทารกอาจมีอาการแปรปรวนของสัญญาณชีพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ CBC เพื่อช่วยแยกภาวะติดเชื้อแบคทีเรียออกจากภาวะอักเสบจากสาเหตุอื่น
การตรวจทางรังสีวิทยา
ได้แก่การตรวจ plain x-rays ของทรวงอกและช่องท้อง (acute abdomen series) อาจจะช่วยแยกภาวะอุดตันของทางเดินอาหาร ภาวะแตกทะลุของอวัยวะในช่องท้อง อีกทั้งใช้ติดตามดูการเปลี่ยนแปลงในระดับความรุนแรงของภาวะอักเสบของลำไส้และช่องท้อง
การตรวจอัลตร้าซาวด์ช่วยวินิจฉัยภาวะหนอง ฝี และการสะสมของของเหลวในส่วนใดส่วนหนึ่งของช่องท้อง
ขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรงของโรค รวมทั้งสภาวะของผู้ป่วย การรักษาเริ่มจากการพักลำไส้และให้ยาปฏิชีวนะ สำหรับกรณีที่มีการแตกทะลุของลำไส้ เช่น กระเพาะทะลุในเด็กแรกคลอด ลำไส้ทะลุจากการอุดกั้นหรืออักเสบ การรักษาเป็นการผ่าตัดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระบายสิ่งปนเปื้อนออกจากช่องท้อง แก้ไขการแตกทะลุ และอาจเบี่ยงทางเดินของอุจจาระโดยการยกลำไส้เปิดเป็น ostomy ร่วมด้วย
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารเนื่องจากลำไส้ทะลุ
เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหารเนื่องจากลำไส้ติดเชื้อ
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนเนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนก๊าซไม่ดีจากมีภาวะท้องอืดกระเพาะทะลุ
มารดาบิดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของบุตร
ความหมาย
สาเหตุ
อาการ
การวินิจฉัย
การรักษา
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล