Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอาจริยคุณ นางสาวอารดา บุญส่ง ม.๔/๕ เลขที่ ๒๔ …
นมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอาจริยคุณ
นางสาวอารดา บุญส่ง ม.๔/๕ เลขที่ ๒๔
ประวัติของผู้แต่ง
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)
เกิดวันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศุ. ๒๓๖๕
เป็นผู้แต่งตำราภาษาไทย
และเป็นอาจารย์ส่อนวิชาภาษาไทยแก่เจ้านายในสมั ยรัชกาลที่ ๕ ท่านถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ รวมสิริอายุได้ ๖๔ ปี
วิเคราะห์คุณค่าจากเรื่องนมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอาจริยคุณ
ด้านวรรณศิลป์
การเล่นเสียง
การเล่นเสียงสระ เช่น ตรากทนระคนทุกข์
การเล่นเสียงพยัญชนะ เช่น ข้าขอนบชนกคุณ
ต้านเนื้อหา
การลำดับความได้ชัดเจน คำนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณมีการลำดับเนื้อหาอย่างเหมาะสม ชัดเจน โดยในคำนมัสการมาตาปิตุคุณ มีการกล่าวถึงบทบาทหน้าที่ของพ่อแม่ที่คอยเลี้ยงดูลูกจนเติบใหญ่ ตลอดจนความยิ่งใหญ่ของบุญคุณของพ่อแม่ และปิดท้ายด้วยการการสอนให้เด็ก ๆ รู้จักกตัญญูรู้คุณต่อผู้ให้กำเนิด
มีการสอนจริยุธรุรม จะเห็นได้ว่า บุทเรียนเรื่องนี้ เป็นสิ่งที่เพื่อน ๆ นำไปใช้ได้จริง ด้วยการรู้จักสำนึกในพระคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์ นับเป็นการใช้บทประพันธ์เพื่อปลูกฝังจริบธรรมได้เป็ นอย่างดี
การช้ำคำ เช่น ก็ บ่ เทียบ บ่ เทียมทัน
การเลือกสรรคำ เช่น ชนก ชนนี และ โอบเอื้อ เจือจุน
ความเป็นมาของเรื่อง บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และบทนมัสการ อาจริยคุณ เป็นบทประพันธ์ของพระยาศรีสุนทร โวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ที่ต้องการสั่งสอนและ ปลูกฝังให้เยาวชนในฐานะที่เป็นลูกและศิษย์มีความ กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณยิ่งใหญ่ อันได้แก่ บิดา มารตา และครูอาจารย์ เพราะความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนตึ
วัตถุประสงค์ในการแต่ง เพื่อปลูกฝิงคุณธรรมและตระหนั กถึงความกตัญญูกตเวที
ลักษณะคำประพันธ์ของเรื่อง อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ หมายถึง ฉันท์ที่มีลีลาอันรุ่งเรืองงดงามประดุจสาย ฟ้า ซึ่งเป็นอาวุธของพระอินทร์ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ นิยมใช้ในการแต่งข้อความซึ่งเป็นบทชม บทคร่ำครวญ และใช้แต่งเป็นบทพากย์โขน
พระยาศรีสุนทรโวหารเรียกฉันท์ที่ใช้ในการแต่งบท นมัสการมาตาปิตุคุณและอาจารยคุณว่า "อินทะวะชิระฉันท์" แต่โดยทั่วไปเรียกว่า "อินทรวิเชียรฉันท์" ซึ่งมีการบังคับครูและลหุ แต่ผู้แต่งคือพระยาศรีสุนทรโวหารเลือกให้ความสำคัญกับเนื้อหา โดยเลือกสรรคำที่ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึก และใช้สำหรับเป็นบทบูชาสรร!สริญมากกุว่าการแต่งให้ถูกฉันทลักษณ์ อย่างไรก็ตาม เพื่อน ๆ ก็สามารถอ่านให้ถูกฉันทลักษณ์ได้ เช่น คำว่า ชนนึ สามารถอ่านว่า ชะ-นะ-นี เป็นต้น
เนื้อเรื่องย่อทั้งเรื่องนมัสการมาตาปิตุคุณ จะกล่าวถึงพระคุณอันยิ่งใหญ่ของบิดามารดาที่ต้องเหนื่อยเลี้ยงดูจนลูกเติบโต
จะกล่าวถึงพระคุณของครูอาจารย์ที่สั่งสอนให้ความรู้แก่ศิษย์ สอนให้ความรู้แก่ศิษย์ ซึ่งเราควรรำลึกถึงพร้ะคุณของบิดามารดาตลอดจนครูอาจารย์
บทประพันธ์ที่รู้สึกประทับใจ 1 บทจากเรื่องนมัสการมาตาปิตุคุณ
ฟูมฟักทะนุถนอม บ บำราศนิราไกล
แสนยากเท่าไร ๆ บ คิดยากลำบากกาย
เนื่องจากบทประพันธ์นี้มีความหมายที่ดี คือ พ่อแม่คอยดูแล ทะนุถนอมู ไม่ยอมห่างเลยแเม้จะยากลำบากแค่ไหนก็ทนได้ ซึ่งสื่อให้เห็นว่าพ่อแม่รักเรามากแค่ไหน
สังเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากเรื่องนมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอาจริยคุณ
๑. บิตามารตาเป็นพรุหมของบุตรทำหูน้าที่อบรมสั่งสอนและเลี้ยงดูบุตรจนเติบโต ตังนั้นผู้ที่เป็นบุตรจึงควรสำนึกในบุญคุณของท่านทั้งสอง และปฏิบัติต่อท่านเพื่อให้ท่านมีความสุขทั้งกายและใจ
๒. ครูอาจารย์เป็นผู้อบรมสั่งสอนศิษย์ต่อจากบิดามารตา ทำให้ศิษย์มีความรู้สามารถนำไปใช้ดำเนินซีวี๊ต คำสั่งสอนของครูตังนั้นผู้ที่เป็นศิษย์จึงุควรยกย่องและเคารพเชื่อฟัง
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1.กตัญญูกตเวที
เชื่อฟังคำสั่งสอน