Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบย่อยอาหาร(Digestive system) - Coggle Diagram
ระบบย่อยอาหาร(Digestive system)
ระบบย่อยอาหารแบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
1.ท่อทางเดินอาหาร (Gastrointestinal tract หรือ alimentary canal)
-ปาก (Mouth)
-คอหอย (Pharynx)
-หลอดอาหาร (Esophagus)
-กระเพาะอาหาร (Stomach)
-ลำไส้เล็ก (Small intestine)
-ลำไส้ใหญ่ (Large intestine)
-ทวารหนัก (Anus)
โครงสร้างของผนังท่อทางเดินอาหาร สามารถแบ่งออกเป็น 4 ชั้นได้แก่
1.ชั้นเยื่อเมือก (Mucosa)
2.ชั้นใต้เยื่อเมือก (Submucosa)
3.ชั้นกล้ามเนื้อเรียบ (Muscularis externa)
4.Serosa (Adventitia)
ช่องปาก (The Mouth , Oral Cavity)
คอหอย (Pharynx)
หน้าที่ของคอหอย
1.ช่วยในการทำให้เกิดเสียง
2.เป็นทางผ่านของอาหารจากปากไปสู่หลอดอาหาร
หลอดอาหาร (Esophagus)
ยาวประมาณ 10-12 นิ้ว เริ่มจากปลาย laryngopharynx ลอดผ่านกะบังลมทางรูเปิดที่เรียกว่า esophageal hiatus สิ้นสุดโดยเปิดเข้าสู่บนของกระเพาะอาหาร
หน้าที่ของหลอดอาหาร : เป็นทางผ่านของหลอดอาหารที่เคี้ยวแล้ว โดยบีบตัวเป็นคลื่นของหลอดอาหารให้ส่งอาหารไปสู่กระเพาะอาหารโดยกระตุ้นของเส้นประสาทสมองคู่ที่10
2.อวัยวะเสริมในการย่อย (Accessory digestive organs)
-ฟัน (Teeth)
-ลิ้น (Tongue)
-ต่อมน้ำลาย (Salivary glands)
-ตับ (Liver)
-ถุงน้ำดี (Gallbladder)
-ตับอ่อน (pancreas)
ตำแหน่งที่เป็นรอยคอดของหลอดอาหาร (esophageal constriction)
Upper esophageal constriction (Cervical constriction)
2.Middle esophageal constricton (Broncho-aortic constriction)
3.Lower esophageal constriction (Diaphragmatic constriction)
กายวิภาคหูรูดหลอดอาหาร ส่วนสำคัญในการกินและหายใจ
กระเพาะอาหาร แบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่
Cardia เป็นส่วนต่อมาจากหลอดอาหาร
Fundus เป็นส่วนโค้งด้านบนสุดของกระเพาะอาหาร
Body เป็นส่วนกลางของกระเพาะอาหาร
Pylolus เป็นส่วนปลายของกระเพาะอาหารก่อนเข้าลำไส้เล้กส่วนต้น
ลำไส้เล็ก (Small Intestine)
-เริ่มตั้งแต่ Pyloric sphincter ไปจนถึง ileocaecal valve จึงเปิดเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ -ลำไส้เล็กแบ่งเป็น3 ส่วน (Duobenum) -ลำไส้เล็กส่วนกลาง (Jejunum) -ลำไส้เล็กส่วนปลาย (lleum)
ผนังของลำไส้เล็กมี 4 ชั้น คือ
1.Mucosa พบ globelt cell , Villi ,หลอดน้ำเหลือง Lacteal ,Intestinal crypt 2.Submucosa 3.Muscularis 4.Serosa
ลำไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum)
ยาวประมาณ 10 นิ้ว เริ่มจาก Pyloric sphincter ไปจนถึง buodenojejunal flexure ไม่มีเยื่อแขวนลำไส้
ลำไส้เล็กส่่วนกลาง(Jejunum)
ยาวประมาณ 8ฟุตมีการดูดซึมไขมันและ B12
ลำไส้เล็กส่วนปลาย (lleum)
ยาวประมาณ 12 ฟุต เป็นส่วนที่มีการดูดซึมมากที่สุด ติดต่อกับลำไส้ใหญ่ส่วนตัวบริเวณ ileocaecal vavle
ลำไส้ใหญ่ (Large Intestineยาวประมาณ 1.5 เมตรเริ่มตั้งแต่ลำไส้ใหญ่ส่วนCecum ไปจนถึง Anus ลำไส้ใหญ่แบ่งได้ดังนี้ )
1.Cecum พบ Ileocecal vale , Vermiform appendix
2.Colon
1.Ascending colon
2.Transverse colon
3.Descending colon
4.Sigmoid colon
Rectum ต่อจาก Sigmoid colon เริ่มต้นจาก s3 รูปร่างโค้งตามความโค้งของ sacrum และ coccyx ส่วนปลายสุดจะหักขึ้นไปด้านหลังและลงข้างล่างแคบเป็น anal canal ทางด้านล่างของ rectum ในผู้ชายอยู่หลังต่อมลูกหมากในผู้หญิงอยู๋หลัง Vagina
หน้าที่ของลำไส้ใหญ่
1.ดูดน้ำและสารละลายบางงอย่างกลับเข้าสู่ร่างกาย
2.ขับถ่ายกากเหลือจากการย่อยอาหาร
เยื่อบุช่องท้อง (Peritoneum) แบ่งออกเป็น 2 ชั้นคือ
ชั้นนอก (Parietal peritoneum) คือเยื่อบุช่องท้องที่ติดกับผนังช่องท้องด้านใน
ชั้นใน (Visceral peritoneum) คือเยื่อบุช่องท้องส้วนหุ้มอวัยวะต่างๆในช่องท้องมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป
2.อวัยวะเสริมในการย่อย (Accessory digestive organs)
-ฟัน (teeth)
-ต่อมน้ำลาย (salivary glands)
ตับ (liver)
ถุงน้ำดี (gallbladder)
-ตับอ่อน (Pancreas)
ฟัน (Teeth)
1.ตัวฟัน (Crown)
2.คอฟัน (Neck)
รากฟัน (Root)
ลิ้น (Tongue)
ทำหน้าที่คลุกคล้าอาหาร รับรสอาหารชนิดต่างๆได้โดยมีต่อมรับรส (Taste bud)
กล้ามเนื้อของลิ้น
Extrinsic muscles of tongue ได้แก่ กล้ามเนื้อที่มีจุดเกาะต้นจากที่อื่นนอกลิ้นและมาเกาะที่เนื้อเยื้อเกี่ยวพันของลิ้นได้แก่
-Genioglossus
-Hyoglossus
-Styloglossus
-Palatoglossus
2.Intrinsic muscles of tongue ได้แก่ กล้ามเนื้อมีต้นกำเนิดและเกาะที่เนื้อเยื่อเกี่ยวพันภายในลิ้น
-longitudinal (superior inferior)
-transverse
-vertical muscles
ต่อมน้ำลาย (Salivary gland)
มีหน้าที่สร้างน้ำลาย (saliva) และถูกขับออกมาเข้าไปในช่องอก
1.Minor salivary glands
2.Major salivary glands
ตับ (Liver) ตั้งอยู่บริเวณชายโครงขวา (rib 5-10) และมีกะบังลมคลุมอยู่
Ligaments/Peritonal Attahments of the Liver
1.Coronary ligament -ยึดผิวด้านบนของตับไว้กับกะบังลม
Falciform ligament -ยึดผิวด้านหน้าของตับไว้กับกะบังลมและผนังหน้าท้อง
3.Round ligament of liver (ligamentum teres hepatis) -ยึดระหว่างตับกับสะดื้อ ซึ่งเป็นส่วนเหลือของ umbilical vein ในตัวอ่อน
หน้าที่ของตับ
ช่วยเผาผลาญสารอาหารต่างๆ
กำจัดและทำลายสารพิษของยาและฮอร์โมนบางชนิดเช่นPenicillin , estrogrn , thyroxine
สร้างน้ำดีขับออกสู่ลำไส้เล็กสำหรับย่อยและดูดซึมสารอาหาร
ถุงน้ำดี (Gallbladder) วางตัวอยู่ตามขอบข้างของ quadrate lobe ทำหน้าที่
ระบบทางเดินน้ำดี ระบบทางเดินน้ำดีประกอบด้วย
-common hepatic duct
-Cystic duct
-common bile duct
ตับอ่อน(Pancreas) วางตัวอยู่ในกระดูกสันหลัง ระดับ L1-L2
ท่อของตับอ่อน
1.Main pancreatic duct ไปรวมกับ common bile duct รวมเป็น hepatopancreatic ampulla แล้วเปิดเข้าสู่ลำไส้เล็กทาง Major duodenal papilla
2.Accessory pancreatic duct เปิดเข้าสู่ลำไส้เล็กทาง Minor duodenal papilla
จุลกายวิภาคของตับอ่อน
-เนื้อต่อม 1% เป็น pancreatic islets (islets of Langerhans
-สร้าง glucagon,insulin
-เนื้อต่อมส่วนที่เหลือ เป็น Acini cell ทำหน้าที่สร้างน้ำย่อยของตับอ่อน (Pancreatic Juice) ประกอบด้วย
-โซเดียมไบคาร์บอเนต (NaHc03)
-น้ำย่อยอะไมเลส (Amylase)
-น้ำย่อยลิเพส (Lipase)