Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจากการทำงาน - Coggle Diagram
โรคจากการทำงาน
4.ประเภทและกลุ่มโรคจากการทำงานที่สำคัญ
4.1 กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี
(Diseases caused by chemical agents)
1. โรคจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Disease caused by pesticides)
1.1 จำแนกโดยสภาพการออกฤทธิ์ภายในและภายนอกเซลล์พืช
1.1.1ประเภทที่ไม่
ดูดซึม (non systemic)
1.1.2 สารกำจัดศัตรูพืชประเภทดูดซึม (systemic pesticide)
1.2 จำแนกโดยอาศัยกลุ่มเป้าหมาย
ตัวอย่างเช่น สารที่ใช้ป้องกันกำจัดไร (acarides)
สารที่ใช้ป้องกันกำจัดเชื้อราเชื้อโรคพืช (fungicides
1.3 จำแนกโดยโครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของสาร
1.3.1 สารกลุ่มออร์กาโนคลอรีน
1.3.2 สารกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต
1.3.3 สารกลุ่มไพรีทรอยด
1.3.4 ลักษณะงานและอาชีพที่เสี่ยง
1.4 อันตรายต่อระบบอวัยวะที่สำคัญของร่างกาย
1.4.1 การหายใจ
1.4.2 ทางผิวหนัง
1.5 การวินิจฉัยโรคเพื่อการรายงาน
1.5.1 มีอาการ
1.5.2 มีประวัติการสัมผัส
1.5.3 มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.5.4 มีข้อมูลสิ่งแวดล้อมสนับสนุนว่ามีความเข้มข้นของสารกำจัดศัตรูพืชเกินค่ามาตรฐาน
4.2 กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ
(Diseases caused by physical agents)
1.1 โรคหูตึง องค์ประที่ทำให้เป็นโรค คือ
1.1.1 ระดับความดันเสียง (Sound Pressure Level)
1.1.2 ความถี่ของเสียง (frequency)
1.1.3 ระยะเวลาที่ได้ยินเสียง (duration)
1.1.4 ลักษณะของเสียง (nature of sound)
1.1.5 ความไวต่อการเสื่อมของหู (individual susceptibility)
หูตึงชั่วคราว
เมื่อหยุดสัมผัสเสียงก็จะกลับเป็นปกติ
หูตึงถาวร
สัมผัสเสียงดังเป็นเวลานานจนเกิดการเสื่อมของเซลล์ขน
4.3 กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุชีวภาพ
(Diseases caused by biological agents )
4.3.1 การสัมผัสทางผิวหนัง
4.3.2 ทางการหายใจ
4.3.3 ทางการกิน
4.3.4 กลุ่มคนที่ทำงานเกษตรกรรม
โรคปอดชาวนา (Farmer's Lung Disease)
โรคปอดชานอ้อย (Bagassosis)
งูกัด
โรคเลปโตสโปโรซิส (Leptospirosis) หรือโรคไข้ฉี่หนู
4.4 กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
(Occupational respiratory diseases)
โรคซิลิโคซิส (Silicosis)
อาชีพที่เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรค คือที่ทำงานในอุตสาหกรรมเหมืองแร่
งานที่เกี่ยวข้องกับการตัดหิน สกัดหิน โรงงานโม่บดย่อยหิน เป็นต้น
การวินิจฉัย ประวัติการทำงานของผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการได้รับฝุ่นซิลิกา
มีอาการและอาการแสดงมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพในปอด
ต้องมีความผิดปกติของภาพถ่ายรังสีทรวงอก
โรคแอสเบสโตซิส (โรคปอดจากแร่ใยหิน;Asbestosis)
โรคปอดอักเสบเรื้อรังและเป็นพังพืดที่เนื้อปอดจากการรับสัมผัสเอาฝุ่น
แร่ใยหินไปสะสมอยู่ในปอดเป็นระยะเวลานานจนเกิดพยาธิสภาพที่เยื่อหุ้มปอด
โรคบิสสิโนซิส (Byssinosis)
อันตรายต่อระบบอวัยวะที่ส าคัญของร่างกาย มีข้อมูลสนับสนุนว่าสารที่กระตุ้นให้เกิดการหลั่งฮีสตามีน มีอยู่ในฝุ่นฝ้ายอาจจะเป็นสาเหตุของการเกิดโรค
4.5 กลุ่มโรคผิวหนังจากการทำงาน
(Occupational skin disease)
1. โรคผิวหนังอักเสบจากสารก่อระคายเคืองจากการประกอบอาชีพ
ลักษณะงานและอาชีพที่เสี่ยง ได้แก่ พนักงานท าความสะอาด ช่างเครื่องยนต์ เป็นต้น
4.6 โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูกจากการทำงาน
(Occupational musculoskeletal disorders )
กลุ่มอาการปวดหลังส่วนล่างจากการทำงานบุคคลที่มีแนวโน้มจะมีอาการปวดหลังหรือมีพยาธิสภาพที่กระดูกสันหลังอยู่เดิม หรือมีพยาธิสภาพที่กระดูกสันหลังอยู่เดิมแต่ไม่แสดงอาการก่อนเข้าสมัครงาน
ลักษณะงานและอาชีพที่เสี่ยง ลักษณะงานที่ทำให้ปวดหลัง ได้แก่ คนที่ต้องทำงานประเภทแบกหาม ยกของหนัก
4.7 โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
(Cancer)
4.7.1 ชนิดของมะเร็งที่เกิดขึ้นในร่างกาย
มะเร็งคาร์ซิโนมา (Carcinoma) คือ มะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์เยื่อบุ
มะเร็งซาร์โคมา (Sarcoma) คือ มะเร็งที่เกิดจากเซลล์เนื้อเยื่ออ่อน (SoftTissue)
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) หรือลูคีเมีย
มะเร็งผิวหนัง (Melanoma) คือ เป็นมะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของการสร้างเม็ดสีผิว
4.7.2 ปัจจัยเสี่ยง
การสูบบุหรี
การติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น ไวรัสตับอักเสบชนิดบีและซี
3.การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
3. ระบาดวิทยาของโรคจากการทำงาน
ปัจจัยสามทางด้านระบาดวิทยา
การเกิดปัญหาด้านสุขภาพทุกๆ อย่างมีปัจจัยพื้นฐานสำคัญมาจาก "ปัจจัยสามทางระบาด วิทยา" เสมอ ต้องมีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านตัวมนุษย์ (Host) ปัจจัยด้านสิ่งก่อโรค (Agent) และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) โดยมี ดร.จอห์น อี กอร์ดอน เป็นผู้ที่คิดเปรียบเทียบ
3.1 การเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน
แบ่งเป็น 3 กิจกรรม
3. การเฝ้าระวังทางการแพทย์ (medical monitoring)
โดยทั่วไปนิยมให้มีการตรวจสุขภาพประจำปีโดยแพทย์
2. การเฝ้าระวังทางด้านชีวภาพ (biological monitoring)
สำรวจสภาพการทงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เมื่อทราบว่าคนทำงานแต่ละ ประเภทหรือแต่ละลักษณะงานจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือความเจ็บป่วยอะไร
1. การเฝ้าระวังทางด้านสิ่งแวดล้อม (environmental monitoring)
เพื่อให้เห็นสภาพการทำงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงานทั้งด้านกายภาพ สารเคมีชีวภาพ สังคม จิตวิทยา และการศึกษาเออร์โกโนมิกส์ (ergonomics) แล้วประมวลประเด็นที่ต้องมีการศึกษาติดตามด้วยการเฝ้าสังเกต
3.2 การสอบสวนโรคหรืออุบัติเหตุ
ในกรณีที่มีการเกิดโรคหรืออุบัติเหตุจากการทำงาน ต้องมีการสอบสวนโรค เพื่อค้นหาข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับการเกิดโรคภัย หรือการบาดเจ็บจากการทำงาน ด้วยการรวบรวมข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วย
3.3 การศึกษาทางวิทยาการระบาด
1. วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา (Descriptive study)
เป็นศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรคหรือการกระจายขององค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในกลุ่มคนทำงาน
2. วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์ (Analytical study)
เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคและองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
เกิดโรคมีการทดสอบสมมติฐาน
3.วิทยาระบาดเชิงทดลอง
การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงทดลอง (Experimental Epidemiology)
1. ความหมาย ลักษณะ และชนิดของโรคจากการทำงาน
1.1 โรคจากการประกอบอาชีพ (occupational Diseases)
หมายถึง โรคหรือการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงาน โดยมีสาเหตุจากการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพในที่ทำงาน เช่น โรคพิษตะกั่ว โรคซิลิโคสิส
1.2 โรคเนื่องจากงาน (work-related Diseases)
หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงาน โดยมีสาเหตุจากปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน และการทำงานในอาชีพเป็นปัจจัยหนึ่งของการเกิดโรค
1.3 โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (environmental diseases)
หมายถึง ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษปนเปื้อน ในดิน น้ำ อากาศ ทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ที่ทำให้เกิดโรคหรือผลกระทบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
6. โรคและปัญหาสุขภาพจากการทำงานในสถานบริการสาธารณสุข
6.1 โรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสำคัญแก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
1. วัณโรค
เป็นเชื้อก่อโรคจากแบคทีเรียชนิด Mycobacterium tuberculosisผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเกิดพยาธิสภาพในระบบทางเดินหายใจ
ปัจจัยที่ทำให้การติดเชื้อวัณโรคในบุคลากร
1.1 การทำงานในสถานที่เสี่ยง
6.2 ปัญหาทางกายภาพในบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
ภาวะปวดหลัง
1 เคยมีประวัติการเกิดอันตรายหรือการบาดเจ็บที่หลังมาก่อน
ปัจจัยสภาพการทำงาน
2.1 งานประจำเป็นงานที่ใช้กำลังกายมาก
2.2 มีการทำงานโดยไม่มีอุปกรณ์ช่วยยก
2.3 การบิด หรือการงอของหลัง
2.4 มีการสั่นสะเทือนทั่วร่างกาย
2.5 การเกิดอุบัติเหตุ
6.3 การประเมินเพื่อจัดทำแนวทางความปลอดภัยของบคุลากรทางสาธารณสุข
ตัวอย่างเช่น ภาวะปวดหลัง
การใช้อุปกรณ์ช่วยในการจับหรือยก
พนักงานทุกคน
จัดหาอุปกรณ์หรือแนะนำการใช้อุปกรณ์
ช่วยที่เหมาะสม
2. ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน
2.1 คนทำงานหรือผู้ประกอบอาชีพ (worker)
คุณสมบัติพื้นฐาน เช่น เพศ อายุ ความสูง ความอ้วน พันธุกรรม โรคประจำตัวประสบการณ์การทำงาน
พฤติกรรมทางสุขภาพของคนทำงาน คนที่เมาขณะขับรถย่อมเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายคนที่ไม่สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
2.2 สภาพการทำงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (physical factors) เช่น เครื่องจักรเครื่องกล ความร้อน ความเย็นแสง เสียง อุณหภูมิ ความชื้น
สภาพแวดล้อมทางเคมี (chemical factors) สารเคมีในสิ่งแวดล้อมการทำงาน อากาศที่จำเป็นในการหายใจ ถ้าปริมาณออกซิเจนลดลงมากผิดปกติ หรือมีก๊าซอันตรายอื่นๆ ปนเปื้อนมากก็อาจเป็นอันตรายถึงเสียชีวิตได้
สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological factors) หมายถึง
เชื้อโรค สัตว์แมลงต่างๆ แมลงบางชนิดก็เป็นพาหะนำโรคมาสู่คน
สภาพแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial factors) หมายถึงสัมพันธภาพระหว่างผู้ร่วมงาน นายจ้างกับลูกจ้าง
5.หลักการวินิจฉัยและการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ
5.1 ความสำคัญของการวินิจฉัยโรค
1.เพื่อให้การรักษาผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง
ป้องกันการลุกลามของโรคหรือความสูญเสียที่จะตามมา
เพื่อวางแผนการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรค
เพื่อประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายการส่งเสริมอาชีพ
5.2 การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
การซักประวัติผู้ป่วย
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจพิเศษ (ตามแต่ปัญหาและอาการแสดงของโรค)