Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ ระบบย่อยอาหาร (Digestive system) …
กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์
ระบบย่อยอาหาร (Digestive system)
ระบบย่อยอาหารแบ่งเป็น 2
ส่วนใหญ่ๆ คือ
1.ท่อทางเดินอาหาร (Gastrointestinal
tract หรือ alimentary canal)
ปาก (Mouth)
ช่องปาก (The Mouth, Oral Cavity)
คอหอย (Phary
ช่วยในการทำให้เกิดเสียง
เป็นทางผ่านของอาหารจากปาก
ไปสู่หลอดอาหาร
หลอดอาหาร (Esophagus)
เป็นทางผ่านของอาหารที่
เคี้ยวแล้ว โดยการบีบตัวเป็นคลื่น
ของหลอดอาหารทให้ส่งอาหารไปสู่
กระเพาะอาหาร โดยการกระตุ้นของ
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10
ยาวประมาณ 10-12 นิ้ว
เริ่มจากปลาย laryngopharynx และ
ลอดผ่านกะบังลมทางรูเปิดที่เรียกว่า
esophageal hiatus สิ้นสุดโดยเปิด
เข้าสู่ส่วนบนของกระเพาะอาหาร
หลอดอาหารจะพบตำแหน่ง
รอยคอดอยู่ 3 แห่งได้แก่
3.Lower esophageal constrictio
(Diaphragmatic constriction)
Middle esophageal constriction
(Broncho-aortic constriction)
1.Upper esophageal constriction
(Cervical constriction)
กระเพาะอาหาร (Stomach)
เป็นที่พักและกักเก็บอาหาร
สร้างเอนไซม์และขับน้ำย่อย (Gastric juice)
คลุกเคล้าอาหารให้ผสมกับน้ำย่อย
กระเพาะอาหาร แบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่
Cardia เป็นส่วนต่อมาจากหลอดอาหาร
Fundus เป็นส่วนโค้งด้านบนสุดของกระเพาะอาหาร
Body เป็นส่วนกลางของกระเพาะอาหาร
Pylolus เป็นส่วนปลายของกระเพาะอาหารก่อนเข้า
ลำไส้เล็กส่วนต้น
ลำไส้เล็ก (Small intestine)
เริ่มตั้งแต่ pyloric sphincter ไปจนถึง
ileocaecal valve จึงเปิดเข้าสู่ลำไส้ใหญ่
หน้าที่ของลำไส้เล็ก
หลั่งน้ำย่อย
เคลื่อนไหวเพื่อคลุกเคล้าอาหารให้ผสมกับน้ำย่อยต่างๆ และทำให้อาหารเคลื่อนที่ไปตามท่อของลำไส้เล็ก
ลำไส้เล็กแบ่ง เป็น 3 ส่วนได้แก่
ลำไส้เล็กส่วนต้น (Decotornum)
ลำไส้เล็กส่วนกลาง (Jejunum)
ลำไส้เล็กส่วนปลาย (Ileum)
ผนังของลำไส้เล็ก มี 4 ชั้นคือ
Mucosa พบ globelt cell, Villi,
หลอดน้ำเหลือง Lacteal,
Intestinal crypt
Submucosa
Muscularis
Serosa
ลำไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum)
ยาวประมาณ 10 นิ้ว
เริ่มจาก pyloric sphincter ไปจนถึง
duodenojejunal flexure
ไม่มีเยื่อแขวนลำไส้
ลำไส้เล็กส่วนกลาง (Jejunum)
ยาวประมาณ 8 ฟุต
มีการดูดซึมไขมันและ B12 มาก
ลำไส้เล็กส่วนปลาย (leum)
ยาวประมาณ 12 ฟุต เป็นส่วนที่มีการ
ดูดซึมมากที่สุด ติดต่อกับลำไส้ใหญ่
ส่วนต้น บริเวณ ileocaecal vavle
การเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมของลำไส้เล็ก
ความยาว
Plica circulares
Villi
ลำไส้ใหญ่ (Large intestine)
ยาวประมาณ 1.5 เมตร
เริ่มตั้งแต่ลำไส้ใหญ่ส่วน Cecum ไปจนถึง Anus
ลำไส้ใหญ่แบ่งได้ดังนี้ คือ
Cecum
พบ
Ileocecal vale
Vermiform appendix
2.Colon
1) Ascending colon
2) Transverse colon
3) Descending colon
4) Sigmoid colon
Rectum
ต่อจาก Sigmoid colon เริ่มต้นจาก ร3 รูปร่างโค้งตามความโค้งของ sacrum และ c๐ccyx ส่วนปลายสุดจะหักขึ้นไปด้านหลังและลงข้างถ่างแคบเป็น ana canal ทาง ด้านล่างของ rectum ในผู้ชายอยู่หลังต่อมลูกหมาก ในผู้หญิงอยู่หลัง Vagina
ลักษณะภายนอกของลำไส้ใหญ่
ผนังของลำไส้ใหญ่ มี 4 ชั้นคือ
Mucosa ไม่มี vili และ มี goblet cells จำนวนมาก
Submucosa
Muscularis Wบ taeniae coli แรงตึงตัวทำให้เกิด haustra
Serosa ผนังนี้มีไขมันมาสะสมเป็นติ่งไขมันเรียกว่า epiploic appendage
หน้าที่ของลำไส้ใหญ่
ดูดน้ำและสารละลายบางอย่างกลับเข้าสู่ร่างกาย เพื่อให้เกิดความสมดุล
ระหว่างน้ำกับสารละลายภายในร่างกาย
ขับถ่ายกากเหลือจากการย่อยอาหาร
ทวารหนัก (Anus)
โครงสร้างของผนังท่อทางเดินอาหาร
ลามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ชั้น ได้แก่
ชั้นเยื่อเมือก (Mucosa)
ชั้นใต้เยื่อเมือก (Submucosa)
ชั้นกล้ามเนื้อเรียบ
(Muscularis externa)
Serosa (Adventitia)
เยื่อบุช่องท้อง (Peritoneum)
แบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ
ชั้นนอก (Parictal peritoncum) คือ เยื่อบุช่องท้องที่ติดกับผนังช่องท้องด้านใน
ชั้นใน (Visceral peritoncum) คือ เยื่อบูช่องท้องส่วนหุ้มอวัยวะต่างๆในช่องท้อง มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป
การจัดเรียงตัวของเยื่อบุช่องท้อง
Peritoneal cavity ประกอบด้วย greater sac และ lesser sac (omentum bursa)
หน้าที่ของเยื่อบุช่องท้อง
สร้าง Peritoneal fluid มาหล่อลื่น เพื่อลดแรงเสียดทาน เมื่ออวัยวะ
ภายในมีการเคลื่อนไหว
ป้องกันการกระจายของเชื้อโรค
แขวนอวัยวะต่างๆให้คงอยู่ในตำแหน่งและเป็นที่เกาะของหลอดเลือด
หลอดน้ำเหลือง และเส้นประสาท
อวัยวะเสริมในการย่อย
(Accessory digestive organs)
ฟัน (teeth)
ตัวฟัน (Crown
คอฟัน (Neck)
รากฟัน (Root
หน้าที่
ช่วยในการทำเสียงเวลาพูด
ช่วยรักษาขนาดและรูปร่างของขากรรไกร
ช่วยในการเคี้ยวอาหารและบดอาหารu
ฟันในคน มี 2 ชุด เรียก dentation ได้แก่
ฟันน้ำนม (Deciduous teeth) เป็นฟันชุดแรกมี 20 ซี่ เริ่มงอกอายุประมาณ 6 เดือน ฟันน้ำนม (deciduous teeth)
:รูปร่างของส่วน crown ของฟันบน และฟันถ่าง, อายุที่ฟันงอก
ฟันชุดที่ 2 ฟันแท้ (Permanent teeth) มีจำนวน 32 ซี่ เริ่มงอกอายุประมาณ 6 ปี ฟันแท้ (permanent teeth)
: รูปร่างของส่วน crown ของฟันบนและฟันล่าง, อายุที่ฟันงอก
ต่อมน้ำลาย (salivary glands)
มีหน้าที่สร้างน้ำลาย (saliva) และถูกขับออกมาเข้าไปในช่องปาก แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆคือ
Major salivary glands
ต่อมน้ำลายใต้ลิ้น
Sublingual Gland)
ผลิตน้ำลายที่มีลักษณะ
เป็นน้ำใสปนเมือกเหนียว
70 % ของน้ำลายทั้งหมด
ต่อมน้ำลายใต้ขากรรไกรล่าง
Submandibulary Gland)
ผลิตน้ำลายที่มีลักษณะข้น
5 %ของน้ำลายทั้งหมด
ต่อมน้ำลายข้างกกหู (Parotid Gland)
ผลิตน้ำลายที่มีลักษณะเป็นน้ำใส
25 % ของน้ำลายทั้งหมด
Minor salivary glands
ตับ (liver)
ตั้งอยู่บริเวณชายโกรงขวา (rib 5-10) และมีกะบังลมคลุมอยู่ ยื่นผ่านแนวกลาง
ลำตัวไปทางด้านซ้าย
Ligaments/Peritoneal Attachments of the Liver
Coronary ligament
ยึดผิวด้านบนของตับไว้กับกะบังลม
Falciform ligament
ยึดผิวด้านหน้าของตับไว้กับกะบัง
ลมและผนังหน้าท้อง
Round ligament of liver (ligamentum
teres hepatis)
ยึดระหว่างตับกับสะดือ ซึ่งเป็นส่วน
เหลือของ umbilical vein ในตัวอ่อน
3.1 Lesser omentum
ยึดขั้วตับไว้กับกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น
Hepatogastric ligament
Hepatoduodinal ligament
ลักษณะทางจุลกายวิภาคของตับ
เนื้อตับประกอบด้วยหน่วยโครงสร้างพื้นฐาน
เรียกว่า hepatic lobule ประกอบด้วย Central vein เป็นจุดศูนย์กลาง ตรงมุมหกเหลี่ยมมีโครงสร้าง เรียกว่า portal triad
ภายในตับประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิด คือ
Liver cell หรือ hepatocytes ทำหน้าที่สร้างน้ำดี และขับออกที่ช่องแคบ ๆ เรียก bile canaliculi
Kuffer cell บุอยู่ใน sinusoid ทำหน้าที่เก็บกินเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ และแบคทีเรีย ที่ปนมากับเลือด
ลักษณะภายนอกของตับ
แบ่งออกเป็น 4 กลีบ (Lobe)
Left and Right lobe
Caudate and Quadrate
หน้าที่ของตับ
ช่วยเผาผลาญสารอาหารต่างๆ
กำจัดและทำลายพิษของยาและฮอร์โมนบางชนิด เช่น penicillin, estrogrn, thyroxine
สร้างน้ำดีขับออกสู่ลำไส้เล็กสำหรับย่อยและดูดซึมสารอาหารพวกไขมัน
เก็บสะสมอาหารเช่น glucose ไว้ในรูปของ glycogen และเป็นแหล่งสะสมธาตุ เหล็กและทองแดง
วิตามิน A, D, B12
สร้างเม็ดเลือดแดงในทารก
สลาย HB ของเม็ดเลือดแดงให้เป็น โกลบิน และรีม
สร้างสารป้องกันการแข็งตัวของเลือด
สร้างโปรตีน เช่น โปรทรอมบิน ไฟบริโนเจน อัลบูมิน
สังเคราะห์กรดอะมิโน
ถุงน้ำดี (gallbladder)
วางตัวอยู่ตามขอบข้างขวาของ quadrate Iobe ทำหน้าที่ทำให้น้ำดีที่คัดหลังจากตับ
เข้มข้นขึ้น เพื่อปล่อยลงสู่ลำไส้เล็ก
ทาง common bile duct
ถุงน้ำดีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
Fundus
Body
Neck
มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 ชม.
มีความยาวประมาณ 7-10 ซม
มีความจุถึง 30-60 มล.
ระบบทางเดินน้ำดีประกอบด้วย
Common hepatic duct
Cystic duct
Common bile duct
ตับอ่อน (Pancreas)
วางตัวอยู่ในกระดูกสันหลัง ระดับ L1-1.2 ทำหน้าที่
สร้างน้ำย่อย (pancreatic juice)
สร้าง glucagon และ insulin
แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
Head
Body
Tail
ท่อของตับอ่อน
Main pancreatic duct ไปรวมกับ common bile duct รวมเป็น hepatopancreatic
ampulla แล้วเปิดเข้าสู่ลำไส้เล็กทาง
Major duodenal papilla
Accessory pancreatic duct เปิดเข้าสู่ลำไส้เล็กทาง Minor duodenal papilla
จุลกายวิภาคของตับอ่อน
เนื้อต่อม 1% เป็น Pancreatic islets (islets of Langerhans)
สร้าง glucagon, insulin
เนื้อต่อมส่วนที่เหลือ เป็น Acini cell ทำหน้าที่สร้างน้ำย่อยของตับอ่อน (Pancreatic Juice) ประกอบด้วย
โซเดียมไบคาร์บอเนต (NaHCO3)
น้ำย่อยอะไมเลส (Amylase)
น้ำย่อยลิเพส (Lipase)
ลิ้น (Tongue)
ทำหน้าที่คลุกเคล้าอาหาร ช่วยในการกลืนและช่วยในการออกเสียง รับรสอาหารชนิดต่างๆได้โดยมีต่อมรับรส (Taste bud)
กล้ามเนื้อของลิ้น
1.Extrinsic muscles of tongue ได้แก่ กล้ามเนื้อที่มีจุดเกาะต้นจากที่อื่นนอกลิ้น และมาเกาะที่เนื้อเยื้อเกี่ยวพันของลิ้น ได้แก่
Genioglossus
Hyoglossus
Styloglossus
Palatoglossus
Intrinsic muscles of tongue ได้แก่ กล้ามเนื้อที่มีต้นกำเนิดและเกาะที่เนื้อเยื้อเกี่ยวพัน
ภายในลิ้น กล้ามเนื้อเหล่านี้มีการเรียงตัว 3 แนว ได้แก่
longitudinal (superior & inferior)
transverse
vertical muscles