Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจากการทำงาน (Occupational disease) - Coggle Diagram
โรคจากการทำงาน (Occupational disease)
ระบาดวิทยาของโรคจากการทำงาน
ตรวจหรือสืบหาการสัมผัสสิ่งคุกคามหรือสารอันตรายและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สัมผัส
วัดประสิทธิผลของระบบการป้องกันและควบคุมโรคภัยในสถานที่ทำงาน
ชี้บ่งกลุ่มคนทำงานที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดการบาดเจ็บหรือการเกิดโรคบางชนิด
การประเมินประสิทธิภาพของวิธีการตรวจคัดกรองโรคหรือความผิดปกติของการใช้สารบางชนิด
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน
สภาพการทำงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
สภาพแวดล้อมทางเคมี
สารเคมีในสิ่งแวดล้อมการทำงาน
อากาศที่จำเป็นในการหายใจ
สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
เชื้อโรค สัตว์ แมลงต่างๆ แมลงบางชนิดก็เป็นพาหะนำโรคมาสู่คน
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ความสั่นสะเทือน
อุณหภูมิ ความชื้น
เสียง
ความร้อน ความเย็นแสง
สภาพแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม
ผู้ให้บริการกับผู้รับบริการ
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
สัมพันธภาพระหว่างผู้ร่วมงาน
สิ่งแวดล้อมทั่วไป
สิ่งแวดล้อมนอกสถานประกอบการ บ้านเรือน หรือชุมชนโดยรอบ สถานประกอบการแห่งหนึ่งตั้งอยู่ในซอยเปลี่ยวห่างไกลชุมชน
คนทำงานหรือผู้ประกอบอาชีพ
คุณสมบัติพื้นฐาน เช่น เพศ อายุ ความสูง ความอ้วน พันธุกรรม โรคประจำตัว ประสบการณ์การทำงาน
พฤติกรรมทางสุขภาพของคนทำงาน
โรคและปัญหาสุขภาพจากการทำงานในสถานบริการสาธารณสุข
ปัญหาทางกายภาพในบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
ปัจจัยสภาพการทำงาน
เคยมีประวัติการเกิดอันตรายหรือการบาดเจ็บที่หลังมาก่อน
การประเมินเพื่อจัดทำแนวทางความปลอดภัยของบคุลากรทางสาธารณสุข
โรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสำคัญแก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
ประเภทและกลุ่มโรคจากการทำงานที่สำคัญ
โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูกจากการทำงาน
กลุ่มโรคผิวหนังจากการทำงาน
กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี
จำแนกโดยสภาพการออกฤทธิ์ภายในและภายนอกเซลล์พืช
สารกำจัดศัตรูพืชประเภทดูดซึม
สารกำจัดศัตรูพืชประเภทไม่ดูดซึม
จำแนกโดยอาศัยกลุ่มเป้าหมาย
จำแนกโดยโครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของสาร
สารกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต
สารกลุ่มไพรีทรอยด์
สารกลุ่มออร์กาโนคลอรีน
กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
โรคแอสเบสโตซิส หรือโรคปอดจากแร่ใยหิน
โรคบิสสิโนซิส
โรคซิลิโคซิส
กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางชีวภาพ
โรคไข้มาเลเรีย
งูกัด
โรคปอดชานอ้อย
โรคแอนแทรกซ์หรือโรคกาลี
โรคปอดชาวนา
โรคพิษสุนัขบ้า
ปัจจัยทางชีวภาพ หมายถึง พืช สัตว์ แมลงนำโรคและเชื้อโรคชนิดต่างๆ
โรคเลปโตสโปโรซิส
โรคบาดทะยัก
โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งซาร์โคมา
มะเร็งผิวหนัง
มะเร็งคาร์ซิโนมา
กลุ่มโรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ
โรคหูตึงจากเสียงดัง
หูตึงจากเสียงดัง อาจเกิดขึ้นเป็นขั้นตอน
หูตึงถาวร
หูตึงชั่วคราว
การศึกษาทางวิทยาการระบาด
วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์
เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคและองค์ประกอบต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในกลุ่มคนทำงาน
Retrospective studies หรือ Case-control studies
Prospective studies หรือ Cohort studies หรือ Incident studies
Prevalence studies หรือ Cross-sectional studies
วิทยาระบาดเชิงทดลอง การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงทดลอง เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผล ช่วยค้นหากลไกหรือ วิธีการรักษาโรค การพัฒนาวิธีการป้องกัน แก้ไข หรือควบคุมโรคหรือปัญหาทางอาชีวอนามัย
วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
เป็นศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรคหรือการกระจายขององค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในกลุ่มคนทำงาน
ความหมาย ลักษณะ และชนิดของโรคจากการทำงาน
โรคเนื่องจากงาน
โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงาน โดยมีสาเหตุจากปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน และการทำงานในอาชีพเป็นปัจจัยหนึ่งของการเกิดโรค
โรคปวดหลัง
โรคเบาหวาน
โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม จากมลพิษปนเปื้อนในดิน น้ำ อากาศ ทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ที่ทำให้เกิดโรคหรือผลกระทบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
โรคจากการประกอบอาชีพ
โรคหรือการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงาน โดยมีสาเหตุจากการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพในที่ทำงาน
โรคซิลิโคสิส (โรคปอดจากฝุ่นหิน)
โรคพิษสารตัวทำละลายต่างๆ
โรคพิษตะกั่ว
หลักการวินิจฉัยและการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ
การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
การซักประวัติผู้ป่วย
โรคประจำตัวของผู้ป่วยและบุคคลในครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยและลักษณะอาการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการทำงานและลักษณะการทำงาน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน และ
ระยะเวลาการทำงานที่สงสัยว่าสัมผัสสารก่อโรค
การตรวจร่างกายทั่วไป
เป็นการตรวจร่างกายผู้ป่วยเพื่อวิเคราะห์ลักษณะอาการและปัญหาของโรค
การตรวจพิเศษ
ตามแต่ปัญหาและอาการแสดงของโรค
ความสำคัญของการวินิจฉัยโรคฯ
ป้องกันการลุกลามของโรคหรือความสูญเสียที่จะตามมา ทั้งทางด้านการสูญเสียสมรรถภาพการทำงานความทุพพลภาพ การสูญเสียทรัพย์สิน จนถึงการสูญเสียชีวิต
เพื่อวางแผนการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคในผู้ที่ทำงานที่เดียวกันหรือมีลักษณะการทำงานแบบเดียวกันได้ทันการณ์
เพื่อประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายการส่งเสริมอาชีพ การกำหนดกฎหมายและแนวทางปฏิบัติต่างๆ ที่จำเป็นและเหมาะสมในระดับหน่วยงานจนถึงระดับประเทศ
เพื่อให้การรักษาผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง