Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดี…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดี ตับและตับอ่อน
การประเมินมีความผิดปกติ
ระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดี ตับและตับอ่อน
1.การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.การตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือพิเศษ
ดู ฟัง เคาะ คลำ
Esophagogastro duodenoscopy (EGD)
การพยาบาล
1) งดอาหารและน้ำดื่มตลอดจนยาทุกชนิดทางปากก่อนตรวจ 8 ชั่วโมง
2) ดูแลความสะอาดปากฟันและบ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปากถอดฟันปลอม
3) ให้ premedication ตามแผนการรักษาส่งผู้ป่วยพร้อมด้วยฟอร์มปรอทและ film X ray
4) หลังการตรวจอธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าคอจะชาอยู่ประมาณ 1-2 ชม. ตรวจดู Gag reflex ก่อนที่จะให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเพราะอาจเกิดการสำลักได้
5) สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการตรวจอาการอาจเกิดขึ้นทันทีหลังตรวจหรือหลังจากการตรวจหลายชั่วโมงเช่นมีรอยทะลุของ cervical esophagus perforation โดยจะมีอาการปวดขณะกลืนหรือเคลื่อนไหวคอหายใจลําบากปวดท้องไข้และถ่ายดำ
6) ภายหลังการตรวจถ้ามีอาการเจ็บคอให้บ้วนปากด้วย Cool saline
มะเร็งหลอดอาหาร (CA esophagus)
ปัจจัยเสี่ยง
1.การสูบบุหรี่
2.การดื่มเหล้า
3.ไนโตรซามีน
4.เส้นใยทิน
5.ผลิตภัณฑ์ปิโตเลียม
อาการและอาการแสดง
อาการจะแสดงเมื่อหลอดอาหารลีบตีบตันทําให้มีอาการกลืนสาบากมีความรู้สึกว่ามีอาการติดที่คอหรือลิ้นปี
มักมีอาการอาเจียนร่วมด้วยจะผอมซีดจากการขาดอาหาร
ถ้าเป็นมากหลอดอาหารจะทะลุเข้าหลอดลมทำให้ผู้ป่วยไอและสําลักอาหารได้
าจมีเสียงแหบและคลำพบก้อนที่คอได้
การวินิจฉัยโรค
1.การทำ Barium Swallow
2.การทำ esophago scope
3.การทำ CT scan
วิธีการรักษา
การผ่าตัด
ฉายรังสี
1 more item...
แผลในระบบทางเดินอาหาร
(peptic ulcer)
สาเหตุ
การเสียสมดุลระหว่างปัจจัยที่ทำให้เกิดการหลั่งกรด
กรรมพันธุ์
แบคทีเรีย
การดื่มแอลกอฮอร์
การสูบบุหรี่
ภาวะแทรกซ้อนแผลในระบบทางเดินอาหาร
Hemorrhage
Perforetion
Obstuction
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง
Gastric lavage
การให้ยา
การรักษาผ่าน endoscope
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
บรรเทาอาการเจ็บปวด
ส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
การตกเลือดระบบทางเดินอาหาร
(Gastrointestinal bleeding)
สาเหตุ
upper GI bleeding
แผลในกระเพาะอาหารและสําไส้เล็กส่วนต้น
การอักเสบของผนังเยื่อบุกระเพาะอาหารและเส้นเลือดโปงของบริเวณหลอดอาหาร
lower GI bleeding
เลือดออกจากริดสีดวงทวารการเกิดการกระทั่งที่ลำไส้
ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงนั้นขึ้นอยู่กับตำแหน่งปริมาณอัตราการไหลของเลือด
ภาวะสุขภาพเดิมของผู้ป่วย (underlying desease) เช่นผู้ที่มีปัญหาโรคตับโรคเลือดหรือภาวะทุพโภชนาการอาจทำให้มีอาการรุนแรงขึ้น
การตรวจวินิจฉัย
Gastroscopy
Proctoscopy
Sigmoidscopy
Barium edema
การรักษา
ให้เลือดและสารน้ำ
การทำให้เลือดหยุดโดยเร็็ว
การพยาบาล
1) ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะช็อก
2) เตรียมการให้เลือดโดยเร็ว
3) การดูแลช่วยเหลือในการห้ามเลือด
4)การดูแลช่วยเหลือในการวินิจฉัย
1 more item...
กรดไหลย้อน
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติในสมรรถภาพของกล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารส่วน uanaualaian (Lower Esophageal Sphincter LES)
ความผิดปกติของเส้นประสาทและกล้ามเนื้อบริเวณกระเพาะอาหาร
ความผิดปกติของการบีบตัวของหลอดอาหารภาวะ Hiatal hernia
สาเหตุทางพันธุกรรมเช่น Down syndrome
ปัจจัยเสี่ยง
รับประทานไม่ตรงเวลา
รับประทานอาหารแล้วนอนหรือนั่งเอนหลังรับประทานอาหารการตั้งครรภ์โดยเฉพาะไตรมาสที่ 3 มดลูกจะโตเพิ่มความดันในช่องท้อง
ความอ้วนผู้ป่วยที่ไอเรื้อรังเช่นหอบหืด
การใช้ยา NSAIDs
การรักษา
การรักษาโดยใช้ยา
รักษาโดยการผ่าตัด
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารทอดๆมันๆ
ไม่ปล่อยให้หิวหรือรับประทานมากเกินไป
Appendicitis
อาการ
เป็นระยะเริ่มแรกที่ไส้ติ่งเริ่มอุดตัน จะมีอาการปวดท้องบริเวณรอบสะดืออย่างฉับพลัน จุกแน่นท้อง เบื่ออาหาร
ระยะที่สองเป็นระยะที่ไส้ติ่งเริ่มบวม โดยจะมีอาการปวดท้องบริเวณชายโครงด้านขวา หากมีการเคลื่อนไหว เช่น เดิน ไอ จาม จะรู้สึกเจ็บมากขึ้น บางรายอาจมีท้องเสียร่วมด้วย
ระยะที่สาม เป็นระยะที่อันตรายเพราะไส้ติ่งแตก และเชื้อแบคทีเรียกำลังแพร่กระจายในช่องท้องจะทำให้ผู้ป่วยมีไข้ขึ้น และหากไม่ได้รับการผ่าตัดจะทำให้เชื้อโรคเข้าสู่กระแสเลือดส่งผลให้เสียชีวิตได้
การวินิจฉัย
ตรวจเลือด
ตรวจอัลตราซาวด์
การรักษา
การผ่าตัดแบบเปิด
ผ่าตัดไส้ติ่งแบบส่องกล้อง
ภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ (peritonitis)
สาเหตุที่พบได้บ่อยก็คือ การแตกทะลุของกระเพาะลำไส้ เช่น กระเพาะอาหารทะลุ ไส้ติ่งแตก ลำไส้ทะลุจากไข้ไทฟอยด์ ลำไส้ทะลุเนื่องจากถูกยิงถูกแทง หรือกระเพาะหรือลำไส้อุดกั้น เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมาจากปีกมดลูกอักเสบ ครรภ์นอกมดลูก ถุงน้ำดีอักเสบท่อน้ำดีอักเสบ ฝีตับอะมีบา ตับอ่อนอักเสบ เป็นต้น เป็นเหตุให้มีเชื้อแบคทีเรีย หรือสิ่งระคายเคืองไปทำให้เยื่อบุช่องท้องเกิดการอักเสบ
มีอาการปวดท้องรุนแรง (อาจปวดเฉพาะที่หรือปวดทั่วท้อง แล้วแต่สาเหตุ) ขยับเขยื้อนหรือกระเทือนถูกจะรู้สึกเจ็บ ผู้ป่วยมักจะต้องนอนนิ่งๆ อาการปวดท้องมักเป็นติดต่อกันหลายชั่วโมงจนถึงหลายวัน นอกจากนี้ยังมีอาการท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว
เบื่ออาหาร และอาจมีอาการท้องเดิน
อาจต้องตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะเอกซเรย์ อัลตราซาวนด์เพื่อค้นหาสาเหตุ อาจให้น้ำเกลือ ยาปฏิชีวนะใส่ท่อยางเข้าหลอดอาหารและกระเพาะเพื่อดูดเศษอาหารและของเหลวออกมา แล้วทำการผ่าตัดอย่างรีบด่วน
โรคกระเปาะที่ลำไส้ใหญ่ (diverticular disease)
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่เข้าใจว่าน่าจะเกิดจากอุปนิสัยการรับประทานอาหารที่มีกากใย (fiber) น้อย ทำให้อุจจาระแข็งกว่าผู้ที่รับประทานอาหารที่มีกากใยมาก เป็นการสร้างแรงกดผนังลำไส้ นานวันเข้าจึงเกิดเป็นกระเปาะที่ผนังลำไส้ได้
อาการ
ปวดท้อง ซึ่งมักเกิดบริเวณหน้าท้องส่วนล่างด้านซ้าย
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องผูกหรือท้องเสีย
มีไข้ หนาวสั่น
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดฝี (abscess)
การอุดตันของลำไส้ใหญ่
ผนังเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ผู้ป่วยจะมีอาการถ่ายเป็นเลือดสีแดงหรือดำทางทวารหนักโดยไม่มีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย
การวินิจฉัย
(barium enema)
(sigmoidoscopy)
(colonoscopy)
(computerized tomography scan: CT scan)
การรักษา
การผ่าตัด