Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ระบบย่อยอาหาร - Coggle Diagram
บทที่ 3 ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารแบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ
ท่อทางเดินอาหาร (Gastrointestinal tract หรือ alimentary canal)
โครงสร้างของผนังท่อทางเดนิอาหาร 4 ชั้น
ช้ันเยื่อเมือก (Mucosa)
ช้ันใต้เยื่อเมือก (Submucosa)
ช้ันกล้ามเนื้อเรียบ (Muscularis externa)
Serosa (Adventitia)
ทวารหนัก (Anus)
กระเพาะอาหาร (Stomach) : วางอยู่ใต้กระบังลม (Diaphragm)
กระเพาะอาหารแบ่งเป็น 4 ส่วน
Cardia เป็นส่วนต่อมาจากหลอดอาหาร
Fundus เป็นส่วนโค้งด้านบนสุดของกระเพาะอาหาร
Body เป็นส่วนกลางของกระเพาะอาหาร
Pylolus เป็นส่วนปลายของกระเพาะอาหารก่อนเข้าลำไส้เล็กส่วนต้น
หน้าที่ : เป็นที่พักและกักเก็บอาหาร, สร้างเอนไซม์และขับน้ำย่อย (Gastric juice), คลกุเคล้าอาหารให้ผสมกับน้ำย่อย
ลําไส้เล็ก (Smallintestine)
ลําไส้เล็กแบ่งเป็น 3 ส่วน
ลําไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum)
ลําไส้เล็กส่วนกลาง (Jejunum)
ลําไส้เล็กส่วนปลาย (Ileum)
ลําไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum) : สั้นทที่สุดในลำไส้เล็ก มีลักษณะคล้ายรูปตัวซี ไม่มีเยื่อแขวนลําไส้
ลําไส้เล็กส่วนกลาง (Jejunum) : ยาวประมาณ 8 ฟุต มีการดูดซึมไขมัน และ B12 มาก
ลําไส้เล็กส่วนปลาย (Ileum) : ยาวประมาณ 12 ฟุตเป็นส่วนที่มีการดูดซึมมากที่สุดติดต่อกับลําไส้ใหญ่ ส่วนต้นบริเวณ ileocaecal vavle
ผนังของลําไส้เล็ก มี 4 ช้ัน
Mucosa พบ globelt cell, Villi, หลอดน้ำเหลือง Lacteal, Intestinal crypt
Submucosa
Muscularis
Serosa
หน้าที่
หลั่งน้ำย่อย
เคลื่อนไหวเพื่อคลุกเคล้าอาหารให้ผสมกับน้ำย่อยต่างๆ และทําให้อาหารเคลื่อนที่ไปตามท่อของลําไส้เล็ก
หลอดอาหาร (Esophagus) : เป็นทางผ่านของอาหารท่ีเคี้ยวแล้ว โดยการกระตุ้นของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10
ตําแหน่งที่เป็นรอยคอดของหลอดอาหาร (esophageal constriction)
Upper esophageal constriction (Cervical constriction)
Middle esophageal constriction (Broncho-aortic constriction)
Lower esophageal constriction (Diaphragmatic constriction)
คอหอย (Pharynx) : ช่วยในการทําให้เกิดเสียง เป็นทางผ่านของอาหารจากปาก ไปสู่หลอดอาหาร
ลําไส้ใหญ่ (Large intestine)
แบ่งได้ดังนี้คือ
Cecum
Colon
Rectum
Cecum พบ : Ileocecal vale, Vermiform appendix
Colon พบ : 1. Ascending colon
2.Transverse colon
3.Descending colon
4.Sigmoid colon
Rectum : ต่อจาก Sigmoid colon เร่ิมต้นจาก S3
ผนังของลําไส้ใหญ่ มี 4 ช้ัน
Mucosa ไม่มี villi และ มี goblet cells จํานวนมาก
Submucosa
Muscul aris พบ taeniae coli แรงตึงตัวทำให้เกิด hau stra
Serosa ผนังนี้มีไขมันมาสะสมเป็นติ่ง ไขมันเรียกว่า epiploic appendage
หน้าที่
ดูดน้ําและสารละลายบางอย่างกลับเข้าสู่ร่างกาย เพื่อให้เกิดความสมดุล
ระหว่างน้ำกับสารละลายภายในร่างกาย
ปาก (Mouth)
อวัยวะเสริมในย่อยอาหาร (Accessory digestive organs)
ฟัน (Teeth)
ประกอบด้วย
ตัวฟัน (Crown)
คอฟัน (Neck)
รํากฟัน (Root)
หน้าที่
ช่วยในการทําเสียงเวลาพูด
ช่วยรักษาขนาดและรูปร่างของขากรรไกร
ช่วยในการเคี้ยวอาหารและบดอาหาร
ฟันในคนมี 2 ชุด เรียก dentation
ฟันน้ำนม (Deciduous teeth) เป็นฟันชุดแรกมี 20 ซี่ เริ่มงอกอายุประมาณ 6 เดือน
ฟันชุดที่ 2 ฟันแท้ (Permanent teeth) มีจํานวน 32 ซี่ เริ่มงอกอายุประมาณ 6 ปี
ตับ (Liver)
ตั้งอยู่บริเวณชายโครงขวา (rib 5-10) และมีกะบังลมคลุมอยู่ ยื่นผ่านแนวกลางลําตัวไปทางด้านซ้าย
ต่อมน้ำลาย (Salivary glands)
มีหน้าที่สร้างน้ำลาย (saliva) และถูกขับออกมาเข้าไปในช่องปาก
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
Minor salivary glands
Major salivary glands
ถุงน้ำดี (Gallbladder)
วางตัวอยู่ตามขอบข้างขวาของ quadrate lobe ทําหน้าท่ีทําให้น้ำดีที่คัดหลังจากตับเข้มข้นขึ้น เพื่อปล่อยลงสู่ลําไส้เล็กทาง common bile duct
ถุงน้ำดีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
Fundus
Body
Neck
ระบบทางเดินน้ำดี
Common hepatic duct
Cystic duct
Common bile duct
ตับอ่อน (pancreas)
วางตัวอยู่ในกระดูกสันหลังระดับ L1-L2 ทําหน้าที่
สร้างน้ำย่อย (pancreatic juice)
สร้าง glucagon และ insulin
แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน
Head
Body
Tail
ท่อของตับอ่อน
Main pancreatic duct
Accessory pancreatic duct เปิดเข้าสู่ลําไส้เลก็ ทาง Minor duode nalpapilla
ลิ้น (Tongue)
ทําหน้าที่คลุกเคล้าอาหาร ช่วยในการกลืนและช่วยในการออกเสียง
รับรสอาหารชนิดต่างๆได้ โดยมีต่อมรับรส (Taste bud)
กล้ามเนื้อของลิ้น
Extrinsicmusclesoftongue
Intrinsic muscles of tongue