Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โลก 2/14, แก่นโลกชั้นนอก, มีความหนาประมาณ 2900 กิโลเมตร,…
โลก 2/14
โครงสร้างภายในโลก
เเก่นโลก
เป็นส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 3,470 กิโลเมตร
เปลือกโลก
-
เป็นชั้นที่บางที่สุดเมื่อเปรียบกับชั้นอื่น ๆ เสมือนเปลือกไข่ไก่หรือเปลือกหัวหอม มีหน้าที่ห่อหุ้มพลังงานความร้อนของโลก
-
เนื้อโลก
มีความหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร
-
เนื้อโลก
เป็นส่วนที่อยู่ถัดลงไปจากเปลือกโลก มีความหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร นับจากฐานล่างสุดของเปลือกโลกจนถึงตอนบนของแก่นโลก แบ่งออกเป็น 3 ชั้นคือ
เนื้อโลกตอนบนสุดมีสถานะเป็นของแข็ง เป็นฐานรองรับเปลือกโลกทวีปและเปลือกโลกมหาสมุทร อยู่ใต้แนวแบ่งเขตโมโฮโรวิ เรียกโดยรวมว่า ธรณีภาค
เนื้อโลกตอนบนหรือ ฐานธรณีภาค อยู่ที่ระดับลึก 100 - 700 กิโลเมตรมีลักษณะเป็นของแข็งเนื้ออ่อน อุณหภูมิที่สูงมากทำให้แร่บางส่วนหลอมละลายเป็นหินหนืด (Magma) เคลื่อนที่หมุนวนด้วยการพาความร้อน
เนื้อโลกตอนล่าง มีสถานะเป็นของแข็งที่ระดับลึก 700 - 2,900 กิโลเมตร มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเหล็ก แมกนีเซียม และซิลิเกท
-
แก่นโลก
แก่นโลกชั้นใน
-
มีความรัศมีประมาณ 1,220 กิโลเมตร
มีอุณหภูมิประมาณ 6,200 - 6,400 องศาเซลเซียส
เป็นส่วนที่อยู่ลึกที่สุด มีความหนาประมาณ 3,440 กิโลเมตร เเละประกอบด้วยโลหะผสมของธาตุเหล็กเเละนิลเกิล
เปลือกโลก
ชั้นนอกสุดของโครงสร้างโลก มีทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินและน้ำที่มองเห็นอยู่ภายนอกและส่วนที่เป็นหินแข็งฝังลึกลงไปใต้แผ่นดินและแผ่นน้ำ เปลือกโลกแบ่งออกได้เป็น 2 บริเวณ
เปลือกโลกทวีป
เป็นเปลือกโลกที่รองรับส่วนที่เป็นพื้นทวีปและไหล่ทวีป ซึ่งไหล่ทวีป เป็นส่วนของทวีปที่อยู่ระหว่างชายฝั่งไปจนถึงลาดทวีปที่มีระดับความลึกจากระดับน้ำทะเลประมาณ 200 เมตร
เปลือกโลกมหาสมุทร
คือบริเวณที่อยู่ใต้มหาสมุทร มีความหนาแน่นประมาณ 5-10 กิโลเมตร เเละมีธาตุซิลิคอนและแมกนีเซียมอยู่จำนวนมาก
แก่นโลกชั้นนอก
-
มีลักษณะเป็นของเหลวร้อน อุณหภูมิสูงมากประมาณ 4,300 - 6,200 องศาเซลเซียส
มีความหนาจากผิวโลกประมาณ 2,900 – 5,000 กิโลเมตร
-
-
-
-
-
-
-
-