Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chapter 6 Reliability ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ - Coggle Diagram
Chapter 6
Reliability
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
Test Theory
Item Response Theory(IRT)
Classical Test Theory
ทฤษฎีบทนี้ให้ข้อสมมติว่า แต่ละบุคคลมีคะแนนที่แท้จริง ซึ่งสามารถหาค่าได้ ถ้าไม่มีความคลาดเคลื่อนของการวัด อย่างไรก็ตาม เครื่องมือวัดต่างที่ดีสมบูรณ์ คะแนนที่ได้จากการวัดจึงแตกต่างจากความสามารถที่แท้จริงของบุคคลความแตกต่างระหว่างคะแนนที่แท้จริงกับคะแนนที่ได้จากการสังเกต เป็นผลมาจากความคลาดเคลื่อนของการวัดนี่เอง
แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับ Reliability
การหาวิธีที่จะประมาณค่าของความไม่คงเส้นคงวาต่อความแม่นยำของการวัดทางจิตวิทยา
แบบวัดที่สมบูรณื
แบบวัดที่มีความคงเส้นคงวา(Consistency)
ในการกำหนดคะแนนของบุคคล
จะวัดกี่ครั้งก็ได้ผลแบบเดิมเสมอ
คะแนนที่ได้จากการวัดสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของปัจจัย 2 ปัจจัย
“จุดเริ่มต้นของแนวคิดเกี่ยวกับ Reliability ตามแนวคิดของ Classical test Theory”
ปัจจัย 2 อย่าง
ปัจจัยที่ทำให้เกิดความคงเส้นคงวา
ลักษณะที่คงที่ของบุคคลหรือลักษณะที่เราพยายามจะวัด
ปัจจัยที่ทำให้เกิดคามไม่คงเส้นคงวา
ลักษณะบางประการของบุคคล หรือสถานการณ์ที่มีผลต่อคะแนน แต่ไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการวัด
ทฤษฎีบทที่เกี่ยวข้องกับ Reliability
จุดมุ่งหมายของแนวคิด
การประมาณค่าความคลาดเคลื่อนในการวัด
การให้ข้อแนะนำวิธีการปรับปรุงแบบวัดที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด
ข้อตกลงเบื้องต้นที่สำคัญ
ความคาดเคลื่อนในการวัดต้องเป็นแบบสุ่ม(Variable)
คำว่า สุ่ม(Random) ไม่ได้หมายความว่าเป็นกระบวนการสุ่ม หรือกระบวนการที่ลึกลับ
ประกอบด้วย
ความเที่ยง
ความเชื่อมั่น
วิธีการประมาณค่า Reliability
Reliability คือ
ต้องการศึกษาว่ามีความแปรปรวนที่เกิดจาก error of measurement เท่าไหร่ และมีความแปรปรวนที่เกิดจาก True score เท่าไร
Alternative forms methods
ลักษณะ
เนื้อหาของ A เหมือน B ความยากง่าย A เท่ากับ B แต่ไม่จำเป็นต้องมี S^2,X ̅ เท่ากัน
วิธีการ
Test A
สอบกลุ่มตัวอย่างA
Test B
สอบกลุ่มตัวอย่างA
ข้อเสีย
ผู้ถูกทดสอบอาจมีความถนัดนาการทำข้อสอบไม่เหมือนกัน
สร้างยากและสิ้นเปลืองเงิน และเวลา
คะแนนที่ได้จากการทดสอบอาจเกิดจากผลกระทบของ
ความเหนื่อย
การเรียนรู้การฝึกฝน
แรงจูงใจ
เป็นการยากที่จะการันตีว่า test 2 test คู่ขนานกัน
Split-half methods
ข้อเสีย
มีวิธี split (แบ่งครึ่งข้อสอบ) หลายวิธีแต่ละวิธีให้ค่า Reliability ที่แตกต่างกัน
ข้อดี
ไม่ต้องสร้าง test 2 ฉบับ
Carry over effects และ reactivity มีน้อย
ไม่ต้องสอบ 2 ครั้ง
ผลของการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากเวลามีน้อย
วิธีการ
แบ่งโดยใช้ข้อคู่ข้อคี่
แบ่งครึ่งข้อสอบ/แบบทดสอบ Test A มี 40 ข้อ 20 ข้อแรก (1-20) 20 ข้อหลัง(21-40)
Test-retest methods
ลักษณะ
คะแนนที่ได้จากการสอบมีความคงเส้นคงวาเท่าไรจากการสอบครั้งที่ 1 และ 2
เหมาะสำหรับการวัดสิ่งที่ค่อนข้างจะคงที่
เป็นวิธีการเก่าแก่ที่สุด
วิธีการ
นำ Test A ไปสอบกลุ่มคนกลุ่มหนึ่ง
นำ Test A(ชุดเดิม) ไปสอบคนกลุ่มเดิมในเวลาต่อมา
หา Corr ระหว่างคะแนนที่ได้จากการสอบ 2 ครั้ง
Coefficient of stability
Internal consistency
Inter Item Consistency
Correlationระหว่างข้อคำถามทั้งหมด
วิธีการหา Inter Item consistency
คำนวณจากการสอบครั้งเดียวข้อสอบชุดเดียว
วิธีการประมาณค่า
Coefficient alpha (α) (สัมประสิทธิ์ α
วิธีการของ Hoyt
The kuder-Ricardson Formulas (KR-20,KR 21)
Frederic Kuder M.W.Richard ไม่พอใจกับวิธีการประมาณค่าโดยวิธี Split-half จึงคิดสูตรเอง