Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศัพท์สังคีต - Coggle Diagram
ศัพท์สังคีต
ทาง
คำนี้มีความหมายแยกได้เป็น 3 ประการ คือ
1.ทาง หมายถึง วิธีดำเนินทำนองโดยเฉพาะของเครื่องดนตรีแต่ละอย่าง
-
-
เดี่ยว
-
-
- เพื่ออวดทาง คือ วิธีดำเนินทำนองของเครื่องดนตรีชนิดนั้น
-
-
กรอ
วิธีการบรรเลงดนตรีประเภทเครื่องตีดำเนินทำนอง ที่ทำให้เกิดเสียงต่อเนื่องกันเป็นเสียงยาวสม่ำเสมอ
โดยใช้ 2 มือตีสลับกันถี่ๆ เหมือนรัวเสียงเดียว
-
ขยี้
เป็นการบรรเลงที่เพิ่มเติมเสียงแทรกแซงให้มีพยางค์ถี่ขึ้น ไปจาก “เก็บ” อีก 1 เท่า อีก 1 เท่า
ถ้าจะเขียนเป็นโน้ตสากลในจังหวะ 2/4 ก็จะเป็นจังหวะละ 8 ตัว ห้องละ 16 ตัว (เขบ็ด 3 ชั้นทั้ง 16 ตัว)
คร่อม
การบรรเลงทำนองหรือบรรเลงเครื่องประกอบจังหวะ หรือร้องดำเนินไปโดยไม่ตรง
กับจังหวะที่ถูกต้อง เสียงที่ควรจะตกลงตรงจังหวะกลายเป็นตกลงในระหว่างจังหวะ
ท่อน
กำหนดส่วนใหญ่ส่วนหนึ่งๆ ซึ่งแบ่งออกจากเพลง โดยปกติเมื่อบรรเลงเพลงใดก็ตาม
หากจบท่อนหนึ่งๆ แล้วมักจะกลับต้นบรรเลงซ้ำท่อนนั้นอีกครั้งหนึ่ง
เท่า
-
หากแต่มีความประสงค์อยู่อย่างเดียวเพียงให้ทำนองนั้นยืนอยู่ ณ เสียงใดเสียงหนึ่ง แต่เพียงเสียงเดียว เท่า หรือ
-
รัว
วิธีการบรรเลงที่ทำเสียงหลายๆพยางค์ให้สั้นและถี่ที่สุด ถ้าเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดเช่น จะเข้
ก็ใช้ไม้ดีด ดีดเข้าออกสลับกันเร็วๆ ที่เรียกว่า “รัวไม้ดีด” เครื่องดนตรีประเภทสี
-
-
ลูกขัด
เป็นวิธีการบรรเลงทำนองอย่างหนึ่งที่แบ่งเครื่องดนตรี (หรือร้อง) ออกเป็น 2
พวกพวกหนึ่งเรียกว่าพวกหน้า (บรรเลงก่อน) อีกพวกหนึ่งเรียกว่าพวกหลัง
ลูกล้อ
เป็นวิธีการบรรเลงทำนองอย่างหนึ่งที่แบ่งเครื่องดนตรี(หรือร้อง) ออกเป็น 2
พวกพวกหนึ่งเรียกว่าพวกหน้า อีกพวกหนึ่งเรียกว่าพวกหลัง
-
ส่ง
แยกออกได้เป็น 2 อย่าง ก. เป็นการบรรเลงนำทางให้คนร้องที่จะร้องต่อไปได้สะดวกและถูกต้อง
เหมือนกับผู้ที่จะพ้นตำแหน่งแล้ว ก็ต้องส่งหน้าที่และแนะนำให้ผู้ที่ จะรับตำแหน่งต่อไปได้ทราบแนวทาง
สะบัด
ได้แก่การบรรเลงที่แทรกเสียงเข้ามาในเวลาบรรเลงทำนอง “เก็บ” อีก 1 พยางค์
ซึ่งแล้วแต่ผู้บรรเลงจะเห็นสมควรว่าจะแทรกตรงไหน ทำนองตรงที่แทรกนั้นก็เรียกว่า “สะบัด”