Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับเลือด, นางสาวขนิษฐา ชาเลิศ 62102301013 A1 -…
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
ขั้นตอนการให้เลือดเเละส่วนประกอบของเลือด
เเจ้งให้ผู้ป่วยทราบว่าจะให้เลือดเเก่ผู้ป่วย ตรสจสอบข้อมูลจาก 3 เเหล่ง ให้ถูกต้องตรงกัน 7 อย่าง, ถามหมู่เลือดของผู้ป่วย (ในกรณีที่ผู้ป่วยทราบหมู่เลือด) พร้อมแขวนป้ายระบุหมู่เลือดที่เตียงผู้ป่วย
ถ้าผู้ป่วยบอกหมู่เลือดไม่ตรงกับหมู่เลือดที่ได้จากธนาคารเลือด หรือมีการทักท้วงเกี่ยวกับการให้เลือด ให้หยุดปฏิบัติการให้เลือดทันที
ขั้นตอนการดูเเลผู้ป่วยขณะได้รับเลือดเเละส่วนประกอบของเลือด
ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังให้เลือด/ส่วนประกอยของเลือด ดังนี้
ก่อนให้เลือด (ไม่ควรเกิน 4 ชม.)
ทุก 10 นาที x 2ครั้ง
ทุก 1 ชม. x 1ครั้ง
กรณีให้เลือดหลายยูนิตตรวจสอบตามขั้นตอนข้างต้นซ้ำทุกยูนิต
การให้เลือดต้องให้ผ่านชุดให้เลือดเท่านั้น กรณีให้ whole Blood หรือ Res Blood cell ชุดให้เลือดใช้ได้ไม่เกิน 4 ชม. ส่วนประกอบของเลือดให้เปลี่ยนชุดให้เลือดทุก ยูนิต
ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อพบอาการเเทรกซ้อน
สังเกตปฏิกิริยาจากากรให้เลือด เเละบันทึกลงในเอกสารทางการพยาบาล
หลุดให้เลือดเมื่อพบอาการเเทรกซ้อนจากการให้เลือดเเละให้ normal saline keep vein open
เมื่อเเพทย์ยืนยันให้เลือดถุงเดิม ให้ปรับการไหลให้ช้าลง เเละปฏิบัติตาม 2 ข้อข้างต้น พร้อมดูเเลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการติดเชื้อ
การติดเชื้อปรสิต
เชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดต่างๆ
การปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย
เชื้อไวรัสเอสไอวี
ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
Hemolytic transfusion reactions (HTR) : เลือดของผู้บริจาคที่นำมาให้กับผู้ป่วยนั้นเข้ากันไม่ได้ (ABO incompatibility)
สามารถเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันภายใน 24 ชั่วโมงหรือเกิดขึ้นช้าภายหลังการรับเลือดไปแล้วนานเกินกว่า 24
อาการ/อาการแสดง ได้แก่ มีไข้ หนาวสั่น ปวดศีรษะปวดหลัง หายใจไม่สะดวก เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
Non hemolytic transfusion reactions (NHTR)
นางสาวขนิษฐา ชาเลิศ 62102301013 A1