Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gram Positive Bacteria - Coggle Diagram
Gram Positive Bacteria
Bacillus cereus
การก่อโรค
ตาอักเสบ(Panophthalmitis)
สูญเสียการมองเห็นภายใน 48 ชม.
ทำลายเนื้อเยื่อเรตินา
เชื้อลุกลามอย่างรวดเร็ว
แหล่งของเชื้ออยู่ในสิ่งของที่ปนเปื้อนกับดินทำให้เชื้อแพร่เข้าตา
เชื้อสร้าง Enterotoxin >> FoodPoisoning
▪️ heatlabileenterotoxin : ท้องร่วง
▪️ heatstableenterotoxin : มีอาการอาเจียน
อาการและอาการแสดง
แบบอาเจียน
ระยะฟักตัว : < 6 ชม.(เฉลี่ย 2 ชม.)
enterotoxin : ทนความร้อน(heatstable)
อาการ : อาเจียน คลื่นไส้ ปวดท้อง
อาหาร : ข้าว
แบบท้องร่วง
ระยะฟักตัว : < 6 ชม.(เฉลี่ย 9 ชม.)
อาการ : ท้องร่วง คลื่นไส้ ปวดท้อง
อาหาร : เนื้อสัตว์ ผัก
enterotoxin : ไม่ทนความร้อน(heatlabile)
Clostridium
Clostridium tetani
อาการและอาการแสดง
▪️อาการชักกระตุก
▪️อาการหลังแข็งแล้วแอ่นไปข้างหน้า
▪️ อาการขากรรไกรแข็ง
การก่อโรค
toxinเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
โรคบาดทะยัก(Tetanus)
เกิดจากบาดแผลขนาดเล็กที่ปนเปื้อนสปอร์ของเชื้อ
C.tetani
จากดิน
Clostridium perfringens
การก่อโรค >> Clostridial Food Poisoning
อาการ
ปวดท้องรุนแรง คลื่นไส้ และท้องร่วง
ไม่มีไข้และไม่อาเจียน
เกิดขึ้นหลังจากกินอาหาร 8-24 ชม.
การก่อโรค >> โรคก๊าซแกงกรีนหรือโรคเนื้อเน่าตาย(GasGangrene/Myonecrosis)
อาการ
▪️แผลบริเวณกล้ามเนื้อบวมเป็นสีม่วงคล้ำ
▪️แผลถูกล้อมรอบด้วยพังผืด
▪️บริเวณรอบแผลบวมน้ำ
สาเหตุ
บาดแผลจากอุบัติเหตุ
บาดแผลอยู่ในสภาพไร้อากาศ
Clostridium botulinum
การก่อโรค Wound Botulism
สาเหตุ
รับประทานอาหารที่ผ่านขบวนการถนอมอาหาร เช่น อาหารกระป๋อง
botulinum toxin
อาการ
อ่อนเพลีย ปวดท้อง เวียนศีรษะ กระหายน้ำ ท้องผูก
ระยะฟักตัว 12-36 ชม.
**อาจเสียชีวิตภายใน 1 วัน
การก่อโรค Wound Botulism
การก่อโรค Infantile Botulism
พบในทารก 6 สัปดาห์ - 6 เดือน
**อาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
อาการ
ท้องผูก เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
ดูดกลืนลำบาก ร้องไห้เสียงเบาและคออ่อนพับ
Streptococcus
Streptococcus pneumoniae
อาการ
เหงื่อออกมาก ชีพจรเต้นเร็ว หายใจลำบาก
มีไข้ ไอ เจ็บหน้าอกรุนแรง มีเสมหะเป็นสีสนิมปนเลือด
มีหนองในช่องปอด
มีการติดเชื้อไปส่วนอื่น : โพรงจมูก หูส่วนกลาง เยื่อหุ้มสมอง
การก่อโรค
โรคปอดบวม / ปอดอักเสบ
ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ หลอดลมอักเสบ
ภาวะภูมิแพ้ Alcoholism ภูมิคุ้มกันร่างกายจะต่ำลง
Streptococcus pyogenes
การก่อโรคคออักเสบเฉียบพลัน
อาการ
ต่อมน้ำเหลืองข้างคอเจ็บ และกดเจ็บ
กลืนน้ำลายแล้วรู้สึกเจ็บคอ มีไข้
คอหอยและต่อมทอนซิลแดง
การก่อโรคไฟลามทุ่ง
อาการ
ผิวหนังเป็นสีแดงคล้ำ
เกิดรอแผลตามใบหน้าและขา
เกิดการติดเชื้อที่ผิวหนังอย่างรุนแรง
Streptococcus agalactiae
อาการ
Bacteremia >> ภาวะโลหิตเป็นพิษในทารกแรกเกิด
ปอดบวม เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ไขสันหลังอักเสบ
การก่อโรค
15-20%ของหญิงตั้งครรภ์อาจเป็นพาหะของเชื้อนี้และอาจถ่ายทอดไปยังัเด็กแรกเกิด
พบเชื้อบริเวณ pharynx ทางเดินอาหาร ช่องคลอด
Streptococcus mutans
การก่อโรค
โรคฟันผุ (decayedteeth)
พบเชื้อใน nasopharynx ในปาก รอยแยกของช่องเหงือก
Streptococcus suis
การก่อโรค
เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน
ถ่ายทอดสู่คนโดยการสัมผัสโดยตรง
Sepsis / Streptococcal Toxic Shock Syndrome (STSS)
อาการ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ข้ออักเสบ ม่านตาอักเสบ
สูญเสียการได้ยิน >> หูหนวก
มีไข้ หนาวสั่น หอบเหนื่อย คลื่นไส้ ปวดหัว
Staphylococcus
Staphylococcus saprophyticus
การก่อโรค
พบเชื้อตามผิวหนัง
ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
อาการ
ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ มีหนอง
มีเชื้อจำนวนมากในปัสสาวะ
Staphylococcus aureus
การก่อโรค
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
อาหารเป็นพิษ : การกินอาหารที่ปนเปื้อน enterotoxin ของเชื้อ
ลำไส้อักเสบ (enterocolitis)
โพรงข้อต่อมีหนอง : หลังจากการทำศัลยกรรมกระดูก
ช็อก (ToxicShockSyndrome,TSS) พบในผู้หญิงที่ใช้ผ้าอนามัยแบบสอด
ไขกระดูกอักเสบ พบในเด็กชายอายุต่ำกว่า 12 ปี
Mycobacterium
Mycobacterium tuberculosis
การก่อโรค
วัณโรค (Tuberculosis)
เกิดได้ทุกส่วนของร่างกาย โดยเฉพาะที่ปอด
เกิดจากการหายใจสูดดมเอาละอองของเชื้อเข้าไป
อาการ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เจ็บหน้าอก ไอ
การติดต่อ
การไอ และจากเสมหะ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
สร้างภูมิต้านทาน
ฉีดวัคซีน BCG
Mycobacterium leprae
อาการ
เส้นประสาทรับความรู้สึกถูกทำลาย
เส้นประสาทควบคุมกล้ามเนื้อถูกทำลาย
เส้นประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมหลอดเลือดและต่อมเหงื่อถูกทำลาย
การก่อโรค
โรคเรื้อน (Leprosy)
Corynebacterium diphtheriae
อาการ
เกิด pseudomembrane
หายใจไม่ออก
พบบริเวณต่อมทอนซิล
การก่อโรค
โรคคอตีบ
การติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบนเกิดบริเวณคอหอยมากที่สุด
diphtheriaexotoxin : เป็นตัวสำคัญที่ทำให้เชื้อมีความรุนแรง
Listeria monocytogenes
การก่อโรค Listeriosis
พบในทารกแรกเกิด ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์
ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ
สาเหตุ
สัมผัสสัตว์และอุจจาระสัตว์
กินผักสดที่รดด้วยปุ๋ยคอก
Spirochetes
Leptospira interrogans
การก่อโรคฉี่หนู(Leptospirosis)
อาการ
ปวดศรีษะรุนแรง หนาวสั่น
ปวดกล้ามเนื้อรุนแรง มักปวดน่อง
ปวดโคนขา หลังและน่อง ตาแดง
Treponema pallidum
การก่อโรคซิฟิลิส (Syphilis)
ซิฟิลิสที่เกิดขึ้นภายหลัง : ติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ซิฟิลิสแต่กำเนิด : มารดาติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
ระยะที่2(secondarysyphilis)
เกิดหลังเป็นแผลริมแข็ง 1-2 เดือน
ระยะออกดอก แพร่เชื้อมากที่สุด
ปวดหัว อ่อนเพลีย เป็นไข้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ต่อมน้ำเหลืองบวม
ระยะที่3(tertiary/latesyphilis)
เป็นระยะทำลายโรค (5-20 ปี)
ระยะไม่ติดต่อ
เชื้อทำลายสมอง ทำให้ความจำเสื่อม
ตาบอด หูหนวก เส้นเลือดใหญ่โป่งพอง ลิ้นหัวใจเสื่อม
ระยะที่1(primarysyphilis)
เกิดขึ้นหลังจากได้รับเชื้อ 2-10สัปดาห์
ระยะ hard chancre(แผลริมแข็ง)
เชื้อติดต่อสู่ผู้อื่นได้
มีตุ่มที่อวัยวะสืบพันธ์ ลิ้น ริมฝีปาก ต่อมทอนซิล หัวนม