Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการสร้างความร่วมมือกับครอบครัวและชุมชนท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาเด็กแบบอง…
แนวทางการสร้างความร่วมมือกับครอบครัวและชุมชนท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
องค์ประกอบความสัมพันธ์ความร่วมมือ
มีกลไกที่ก่อให้เกิดความร่วมมือ
มีการจัดตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และสมาคมผู้ปกครองและครู
มีความร่วมมือกันทุกฝ่าย
กำหนดบทบาทหน้าที่ร่วมกันในทิศทางที่พึงประสงค์
ความพร้อมของโรงเรียนและชุมชนและครอบครัว
มีการดำเนินงานให้เกิดความร่วมมือ มีการวางแผนการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนร่วมกันทั้งสองฝ่าย
นโยบายของโรงเรียน
ความสำคัญของการสร้างความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก
เปิดโอกาสให้ชุมชนท้องถิ่นและครอบครัวเข้ามามี
ส่วนร่วมใน การพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
มุ่งจัดการศึกษาให้ตรงกับความต้องการของชุมชนและครอบครัว
เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชนท้องถิ่นและครอบครัว
หลักการสร้างความสัมพันธ์ความร่วมมือ
2) มีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง เพื่อให้โรงเรียนชุมชนและครอบครัว มีความเข้าใจที่ตรงกัน และควรมีเนื้อหาข้อมูล
ข่าวสารต่าง ๆ ที่เข้าใจง่ายและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
3) มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องทั้งในและนอกโรงเรียน ซึ่งจะต้องมีความคล่องตัว และสามารถยืดหยุ่นได้
ตามสถานการณ์ อีกทั้งใช้วิธีการที่ง่าย และเป็นกันเองกับคนในชุมชน
1) ควรมีการศึกษาพื้นฐานของชุมชนนั้นให้เข้าใจ เพื่อปรับวิธีการดำเนินงานให้เหมาะสมกับคนในชุมชนและครอบครัว
4) โรงเรียนควรยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากคนในชุมชน
หลัก 3S’s ในการสร้างความร่วมมือและการสนับสนุน
S - Synergy คือการรวมพลังประสานความร่วมมือ
S – Shared Vision คือการสร้างให้ชุมชนมีวิสัยทัศน์ร่วมกันกับสถานศึกษา
S - School Based Activities การสร้างสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้