Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายคุ้มครองและอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์, นาย วีรภัทร…
นโยบายคุ้มครองและอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
นโยบายอนุรักษ์ในสมัยรัชกาลที่1-5
สมัยรัชกาลที่1
สมัยรัชกาลที่ 1 มีกำหนดบทลงโทษไว้ค่อนข้างรุนแรงในกฎหมายตราสามดวงในการป้องกันการทำลายองค์กรศาสนาและสงวนรักษาโบราณวัตถุสถาน
สมัยรัชกาลที่4
โปรดเกล้าฯให้ประกาศเขตรังวัดมีการประกาศให้ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในเขตวัดช่วยกันป้องกันพื้นที่หากวัดใดถูกทำลายแต่ชาวบ้านในชุมชนไม่ได้แจ้งต่อทางการจะถือว่ามีความผิดต้องถูกลงโทษ
สมัยรัชกาลที่5
มีการจัดตั้งหอพระสมุดวชิรญาณเก็บรักษาหนังสือเอกสารโบราณต่างๆจัดตั้งหอคอยคองคอเดียจัดแสดงสมบัติของชาติ(ภายหลังคือพิพิธฑสถานแห่งชาติ)
นโยบายอนุรักษ์ในสมัยรัชกาลทีุ่6-ปัจจุบัน
สมัยรัชกาลที่6
โปรดเกล้าฯให้ออกประกาศการจัดการตรวจรักษาของโบราณ พ.ศ.2466และให้มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนงานศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมของสยามระหว่างนักวิชาการไทยและต่างชาติ
สมัยรัชกาลที่7
มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติพิพิธภัณฑ์พ.ศ.2469และออกพระราชบัญญัติว่าด้วยการส่งโบราณวัตถุและศิลปวัตถุออกนอกประเทศต้องได้รับอนุญาตจากราชบัณฑิตยสถาน
สมัยรัชกาลที่8
มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติพ.ศ.2485เพื่อจัดระเบียบการแต่งกายและมารยาทในที่สาธารณะความเป็นระเบียบในการปฎิบัติตนและความนิยมไทย
สมัยรัชกาลที่9
มีการดำเนินการจัดตั้งหน่วยงานและกาศใช้พระราชบัญญัติเพื่อการอนุรักษ์คุ้มครองและสร้างจิตสำนึกในการบำรุงรักษาศิลปวัฒนธรรมไว้มากมายยกตัวอย่างเช่นในพ.ศ.2492-2500 มีการจัดสร้างพุทธมณฑลการจัดงานวันแม่งานศิลปหัตถกรรมมีการจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
การอนุรักษ์และคุ้นครองและคุ้มครองศิลปวัฒนธรรม
1.กรมศิลปากร ในช่วงแรกได้รับมอบหมายหน้าที่ดูแลโบราณวัตถุคือการบูรณะโบราณสถานบำรุงรักษาโดยมีกองโบราณคดีเป็นผู้รับผิดชอบวิธีการอนุรักษ์ในระยะนั้นยังดำเนินการตามแนวทางของสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพาทิศคือหลักการไม่ซ่อมแซมโบราณวัตถุแต่ค้ำจุนโบราณสถาน
จำแนกประเภทโบรษณสถานดังนี้
1.สัญลักษณ์แห่งชาติ เช่น พระบรมมหาราชวัง วัด พระบรมธาตุต่างๆ
2.อาคารสถาปัตยกรรมแห่งชาาติ เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม
3.ย่านประวัติศาสตร์ เช่น เกาะรัตนโกสินทร์
4.นครประวัติศาสตร์แห่งชาติ เช่น เชียงใหม่
5.ซากโบราณและแหล่งโบราณคดี เช่ ปราสาทหินพนมรุ้ง
2.การอนุรักษ์จากภาคประชาชน กรณีศึกษาจากโครงการอนุรักษ์มรดกทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิหารพระเจ้าพันองค์ม่อนดอยวัดปงสนุกจังหวัดลำปางพ.ศ.2548ซึ่งวิหารนี้มีอายุกว่า120ปีมีความทรุดโทรมเป็นอันมากจึงริเริ่มให้มีการอนุรักษ์ขึ้นโครงการอนุรัา์วัดปงสนุกเป็นเสมือนโครงการต้นแบบให้แก่ชุมชนในพท.อื่นๆที่จะสร้างจิตสำนึกให้ตระหนักถึงบทบาทความสำคัญในการอนุรักษ์เพื่อชุมชนของตนเองด้วยเหตุนี้จึงได้รับการคัดเลือกจากองค์การยูเนสโกให้ได้รับรางวัลAward of Meritในปี2551
3.สวช.
1.การจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมแห่งวัฒนธรรม พ.ศ.2526 เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางในการให้บริการการศึกษาและส่งเสริมการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยสาขาต่างๆแก่เยาวชนชาวไทยและชาวต่างชาติ
2.การคัดเลือกศิลปินแห่งชาติ พ.ศ.2528 จัดทำโครงการนี้เพื่อยกย่องเชิดชูและส่งเสริมเกียรติยศของศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมอันทรงคุณค่าแก่ประเทศชาติโดยกำหนดให้วันที่24 กพ. ของทุกปีเป็นวันศิลปินแห่งชาติซึ่งตรงกับวันพระราชสมภพของรัชกาลที่2
4.โครงการมหากรรมวัฒนธรรมพื้นบ้าน จัดนำเสนอในรูปแบบนิทรรศการวัฒนธรรมและการแสดงนาฏศิลป์
5.การจัดวันอนุรักษ์มรดกไทย วัตถุประสงค์เพื่อให้คนไทยตระหนักถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมซึ่งเป็นมรดกของชาติโดยสวช.เสนอให้ใช้วันที่ 2 เมษา ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
นาย วีรภัทร ตาเร็ว ม4/1 เลขที่17