Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Reflexs, Inborn reflex เป็นรีเฟล็กซ์ที่ทำงานได้ตั้งแต่เกิด โดยไม่ต้องฝึกฝน…
-
- Inborn reflex เป็นรีเฟล็กซ์ที่ทำงานได้ตั้งแต่เกิด โดยไม่ต้องฝึกฝน เช่น การชักเท้าหนีเมื่อสัมผัสของมีคม
- Acquired or conditional reflex เป็นรีเฟล็กที่เกิดจากการฝึก เช่น คนขับรถเหยียบเบรคเวลาเจอสิ่งกีดขวาง
- Monosynaptic reflex มีเซลล์ประสาทในวงจรรีเฟล็กซ์เพียง 2 ตัว จึงมี synapse จุดเดียว เช่น stretch reflex
- Disynaptic reflex มี synapse 2 จุด เช่น golgi tendon reflex
- Polysynaptic reflex มี synapse หลายจุด เช่น withdrawal reflex
- Superficial reflex ตัวรับความรู้สึกอยู่บริเวณผิวหนัง
- Deep reflex ตัวรับความรู้สึกอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นลึกลงไป เช่น tendon
- Visceral reflex ตัวรับความรู้สึกอยู่ในอวัยวะภายใน
- Somatic reflex เป็นรีเฟล็กซ์ที่มีกล้ามเนื้อลาย เป็นอวัยวะตอบสนอง
- Autonomic reflex เป็นรีเฟล็กซ์ที่มีกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจและต่อมต่างๆ เป็นอวัยวะตอบสนอง
-
-
-
เคาะที่ patellar tendon ทำให้กล้ามเนื้อ quadriceps ยืดออก เกิด strech reflex ทำให้ขาข้างที่กระตุ้นเตะออก
-
-
-
- ตัวรับความรู้สึก คือ Golgo tendon organ ที่ เอ็นของกล้ามเนื้อ( tension)
- ผลของ tendon reflex ทำให้กล้ามเนื้อที่ต่อกับ tendon ที่ถูกกระตุ้นนั้นเกิดการคลายตัว
- กลไกนี้ป้องกันไม่ให้กล้ามเนื้อและเอ็นมีความตึงมากเกินไปจนเกิดการฉีกขาด
- เมื่อกล้ามเนื้อมีการหดตัว ทำให้เกิดความตึงที่เอ็น (tendon) ทำให้ golgi tendon organ ถูกกระตุ้น ส่งสัญญาณเข้าสู่ไขสันหลัง ทำให้เกิด tendon reflex ยับยั้งการหดตัวของกล้ามเนื้อนั้นๆ (ตรงนั้นข้ามกับ strech reflex)
-
- เมื่อมีสิ่งที่กระตุ้นไม่ว่าจะเป็นความเจ็บปวด อุณหภูมิที่ร้อนหรือเย็นเกินไปหรือ แม้แต่การสัมผัส จะทำให้มีการหดตัวของกล้ามเนื้อกลุ่ม flexor เพื่อดึงแขนหรือขา ข้างนั้นๆ หนีออกจากสิ่งกระตุ้น
- บางครั้งกลุ่มกล้ามเนื้อที่ทำงานอาจจะไม่ใช่กลุ่ม flexor แต่เป็น reflex รูปแบบเดียวกัน อาจเรียกรวมว่า withdrawal reflex
- Flexor reflex เป็น polysynaptic reflex
- เกิดในสถานการณ์เดียวกับ flexor reflex ตามหลังประมาณ 0.2-0.5 วินาที
-
- เป็นการทำงานของกล้ามเนื้อกลุ่ม extensor ด้านตรงข้ามกับสิ่งกระตุ้น
-
- ขณะที่เดินอยู่ เท้าซ้ายเหยียบตะปูที่อยู่บนพื้น ขาซ้ายจะชักหนีตะปู(แม้จะยังไม่รู้ว่าเหยียบอะไร และสมองยังไม่ได้รับรู้ถึงความเจ็บชัดเจน)
- เป็น reflex ที่เกี่ยวข้องกับ autonomic nervous system (จะได้เรียนอย่างละเอียดในสรีรวิทยาแต่ละระบบต่อไป)
- baroreceptor reflex เกี่ยวกับการควบคุมความดันโลหิต การบีบตัวของหัวใจและการหายใจ
- gastro-intestinal reflex เกี่ยวข้องกับการบีบตัวของทางเดินอาหาร
- micyurition reflex เกี่ยวข้องกับการปัสสาวะ
- คือการตัดขาดการส่งสัญญาณประสาทระหว่างสมองและไขสันหลังระดับนั้นๆ สาเหตุอาจเกิดจาก อุบัติเหตุ การกดทับ ของโครงสร้างเคียงข้าง
-
- สูญเสียการควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจของกล้ามเนื้อที่เลี้ยงด้วยเส้นประสาทจากไขสันหลังระดับต่ำกว่าที่ถูกตัด
- สูญเสียการรับความรู้สึกของร่างกายระดับต่ำกว่าไขสันหลังที่ถูกตัด
- reflex ที่มี center อยู่ในไขสันหลังระดับต่ำกว่าที่ถูกตัดหายไปชั่วคราว
- หลังเกิด spinal shock ผ่านไปช่วง 2-3 วัน จนถึง 2-3 เดือน เซลล์ประสาทในไขสันหลังจะเริ่มฟื้นการทำงาน(แต่อาจจะไม่เต็มที่เหมือนก่อนเกิด spinal shock)
- การฟื้นตัว ขึ้นกับความรุนแรงของการบาดเจ็บต่อไขสันหลัง
- reflex จะเริ่มกลับมาทำงาน โดน reflex ชนิดแรกที่กลับมา คือ strech reflex ที่มีความซับซ้อนน้อยที่สุด และ reflex ชนิดอื่นๆ จะฟื้นตัวตามมาถอยหลัง
- reflex ที่เกิดขึ้นหลังภาวะ spinal shock จะมีความรุนแรงมากกว่าปกติ (hyperreflexia) และอาจมี pathologic reflex ได้
-