Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Bacterial Disease (Gram Positive Bacteria) - Coggle Diagram
Bacterial Disease
(Gram Positive Bacteria)
Bacillus cereus
การก่อโรค
1.เชื้อสร้างEnterotoxin>>FoodPoisoning
heat stable enterotoxin:มีอาการอาเจียน
heat labile enterotoxin:ท้องร่วง
2.ตาอักเสบ(Panophthalmitis)
แหล่งของเชื้ออยู่ในสิ่งของที่ปนเปื้อนกับดิน >>แพร่เข้าตา
เชื้อลุกลามอย่างรวดเร็ว>>ทำลายเนื้อเยื่อเรตินา>> สูญเสียการมองเห็นภายใน48ชม.
อาการและอาการแสดง
Food Poisoning
แบบอาเจียน
อาหารที่เกี่ยวข้อง: ข้าว
ระยะฟักตัว: <6ชม.(เฉลี่ย 2ชม.)
อาการ : อาเจียนคลื่นไส้ปวดทอ้ง
ช่วงเวลาที่เกิดอาการ : 8-10ชม.(เฉลี่ย 9ชม.)
enterotoxin : ทนความร้อน(heatstable)
แบบท้องร่วง
อาหารที่เกี่ยวข้อง: เนื้อสัตว์ ผัก
ระยะฟักตัว: >6ชม.(เฉลี่ย 9ชม.)
อาการ: ท้องร่วงคลื่นไส้ปวดท้อง
ช่วงเวลาที่เกิดอาการ: 20-36ชม.(เฉลี่ย 24ชม.)
enterotoxin: ไม่ทนความร้อน(heatlabile)
Clostridium
Clostridium perfringens
การก่อโรค
Clostridial Food Poisoning
อาการและอาการแสดง>>ปวดท้องรุนแรงคลื่นไส้และท้องร่วง(ไม่มีไข้และไม่อาเจียน)
2.โรคก๊าซแกงกรีนหรือโรคเนื้อตายเน่า(GasGangrene/Myonecrosis)
อาการและอาการแสดง
2.แผลบริเวณกล้ามเนื้อบวมเป็นสีม่วงคล้ำมีก๊าซและของเหลวสะสม
3.แผลถูกล้อมรอบด้วยพังผืดเกิดความดันเพิ่มขึ้นขาดเลือดและกล้ามเนื้อตาย
บริเวณรอบแผลบวมน้ำ มีตุ่ม มีของเหลวไหลซึมออกมา
สาเหตุ
บาดแผลจากอุบัติเหตุ>>บาดแผลอยู่ในสภาพไร้อากาศ>>เชื้อเจริญได้ดี
Clostridium botulinum
การก่อโรค
Wound Botulism
Infantile Botulism
พบในทารกอายุ 6 สัปดาห์ – 6 เดือน >>อาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
อาการ>>ท้องผูก เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ดูดกลืนลำบาก ร้องไห้
เสียงเบาและคออ่อนพับ
Foodborne Botulism
สาเหตุ>>รับประทานอาหารที่ผ่านขบวนการถนอมอาหาร ที่มีการบรรจุไม่ได้มาตรฐานเช่น อาหารกระป๋อง
อาการและอาการแสดง>>ระยะฟักตัว12-36ชั่วโมง>> อ่อนเพลีย ปวดท้องเวียนศีรษะกระหายน้ำ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
Clostridium tetani
การก่อโรค
โรคบาดทะยัก(Tetanus)
เชื้อแบ่งตัวได้ดีในสภาพเนื้อตายแผลลึก และแผลที่มีดินติด
ทางเข้าของเชื้อคือบาดแผลฉีกขาดการติดเชื้อหลังคลอด และการตัดสายสะดือทารก
อาการและอาการแสดง
2.อาการชักกระตุก:เนื่องจากได้รับการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมภายนอกเช่นแสงเสียงการสัมผัส
3.อาการหลังแข็งแล้วแอ่นไปข้างหน้า:เวลานอนจะมีส่วนศีรษะและแขนที่แตะที่นอนขาทั้งสองข้างเหยียดตรง
1.อาการขากรรไกรแข็ง:เนื่องจากการหดตัวของของกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการเคี้ยว
Streptococcus
Streptococcus agalactiae
การก่อโรค
พบเชื้อบริเวณ pharynx ทางเดินอาหารช่องคลอด
15-20%ของหญิงตั้งครรภ์อาจเป็นพาหะของเชื้อนี้และอาจถ่ายทอดไปยังเด็กแรกเกิด
อาการและอาการแสดง
ปอดบวมเยื่อหุ้มสมองอักเสบไขสันหลังอักเสบ
ติดเชื้อที่ผิวหนังเยื่อบุหัวใจอักเสบหูอักเสบข้ออักเสบ
Bacteremia>>ภาวะโลหิตเป็นพิษในทารกแรกเกิด
Streptococcus mutans
การก่อโรค
โรคฟันผุ(decayedteeth) พบเชื้อใน nasopharynx ในปาก รอยแยกของช่องเหงือก
Streptococcus pyogenes
อาการและอาการแสดง
เกิดรอยแผลตามใบหน้าและขาผิวหนังจะเป็นสีแดงคล้ำบวมน้ำ
และเป็นตุ่ม
การก่อโรค
2.โรคคออักเสบเฉียบพลัน(Acutepharyngitis)
การก่อโรค
1.โรคไฟลามทุ่ง(Erysipelas):เกิดการติดเชื้อที่ผิวหนังอย่างรนุแรง
อาการและอาการแสดง
กลืนน้ำลายแล้วรู้สึกเจ็บคอมีไข
ในเด็กมักพบอาการปวดศีรษะและอาการในระบบทางเดินอาหาร(เช่นปวดท้องและอาเจียน)
เจ็บคอ(อาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน)
Streptococcus suis
การก่อโรค
ระยะฟักตัว 2-3 วัน
เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน>>ถ่ายทอดสู่คนโดยการสัมผัสโดยตรงและ การกินอาหารสุกๆดิบๆ
อาการและอาการแสดง
มีไข้ หนาวสั่น หอบเหนื่อย คลื่นไส้ ปวดศีรษะ สูญเสียการได้ยิน>>หูหนวก(ไข้หูดับ)
Bacteremia>>อาจมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต
เยื่อหุ้มสมองอักเสบข้ออักเสบม่านตาอักเสบ
Streptococcus pneumoniae
การก่อโรค
โรคปอดบวม(Pneumonia) / ปอดอักเสบ(Pneumonitis)
ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ หลอดลมอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เยื่อบุหัวใจอักเสบ ข้ออักเสบ
อาการและอาการแสดง
มีหนองในช่องปอด
มีการติดเชื้อไปสู่ส่วนอื่น:โพรงจมกูหูส่วนกลางเยื่อหุ้มสมอง
มีไข้ ไอ เจ็บหน้าอกรนุแรง มีเสมหะเป็นสีสนิมหรือสีน้ำตาล และมีเลือดปน
Staphylococcus
Staphylococcus aureus
การก่อโรค
2.ไขกระดกูอักเสบ(osteomyelitis):ในเด็กชายอายุต่ำกว่า12ปี
3.โพรงข้อต่อมีหนอง(pyoarthrosis):หลังจากการทำศัลยกรรมกระดูก
1.การติดเชื้อที่ผิวหนัง
6.ช็อก(ToxicShockSyndrome,TSS):ในผู้หญิงที่ใช้ผ้าอนามัยแบบสอด
Staphylococcus saprophyticus
การก่อโรค
พบเชื้อตามผิวหนัง>>ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะของผู้หญิง **ไม่ค่อยพบการติดเชื้อในผู้ชาย
อาการและอาการแสดง
ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะมีหนองและมีเชื้อจำนวนมากในปัสสาวะ
Mycobacterium
Mycobacterium tuberculosis
การก่อโรค
เกิดจากการหายใจสูดดมเอาละอองของเชื้อเข้าไป
เด็กทารกและผู้มีอายุ16-21ปีมีความเสี่ยงต่อการติดโรคได้ง่าย
วัณโรค(Tuberculosis)
อาการและอาการแสดง
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เจ็บหน้าอก ไอ มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
การติดต่อ : การไอ และจากเสมหะ
Mycobacterium leprae
อาการและอาการแสดง
อาการทางผิวหนังเส้นประสาทส่วนปลายเยื่อบุทางเดินหายใจส่วนบน
อาการทางระบบประสาท
2)เส้นประสาทควบคุมกล้ามเนื้อถูกทำลาย:กล้ามเนื้อลีบ
3)เส้นประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมหลอดเลือดและต่อมเหงื่อถูกทำลาย:เหงื่อไม่ออก
1)เส้นประสาทรับความรู้สึกจะถูกทำลาย:อาการชาสูญเสียการรบัความรู้สึก
การก่อโรค
โรคเรื้อน(LeprosyหรือHansen'sdisease,HD)
Spirochetes
Leptospira interrogans
การก่อโรค : โรคฉี่หนู(Leptospirosis)
Treponema pallidum
การก่อโรค : โรคซิฟิลิส(Syphilis)
ระยะฟักตัว:ประมาณ10-90วัน(เฉลี่ย ~3สัปดาห์)
การเกิดโรคแบ่งเป็น 2ชนิดคือ
1.ซิฟิลิสที่เกิดขึ้นภายหลัง(Acquiredsyphilis)
2.ซิฟิลิสแตก่าเนิด(Congenitalsyphilis)
ระยะที่1(primarysyphilis):เกิดขึ้นหลังจากได้รับเชื้อ2-10สัปดาห์
ระยะที่2(secondarysyphilis):เกิดหลังเป็นแผลริมแข็ง1-2เดือน
ระยะที่3(tertiary/latesyphilis):ระยะไม่ติดต่อ
เป็นระยะทำลายของโรค (5-20 ปี)