Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cellular Physiology - Coggle Diagram
Cellular Physiology
Nucleus
ภายในนิวเคลียสมีส่วนประกอบที่เรียกว่า นิวคลีโอลัส มีลักษณะเป็นเม็ดกรานูล มีจำนวนและขนาดที่แตกต่างกันในแต่ละเซลล์ ประกอบด้วยสารพันธุกรรมที่เรียกว่า อาร์เอ็นเอ (RNA) และโปรตีนที่สร้างจากไรโบโซม ซึ่งทำหน้าที่นำโปรตีนที่สังเคราะห์ภายในไซโทพลาซึมมารวมกับ RNA เกิดเป็น ไรโบนิวคลีโอโปรตีน
ชั้นนอกของนิวเคลียสติดต่อกับส่วนประกอบเล็ก ๆ ของเซลล์ที่เรียกว่า เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัมที่เป็นร่างแห กอลไจบอดี และไมโทคอนเดรีย
-
Osmole, Osmolality, and Osmolarity
-
Osmolarity หมายถึงจำนวน osmoles ของตัวถูกละลายต่อลิตร (L) ของสารละลาย แสดงในรูปของ osmol / L หรือ Osm / L Osmolarity ขึ้นอยู่กับจำนวนอนุภาคในสารละลายเคมี แต่ไม่ขึ้นอยู่กับเอกลักษณ์ของโมเลกุลหรือไอออนเหล่านั้น
Osmolality หมายถึงจำนวน osmoles ของตัวถูกละลายต่อกิโลกรัมของตัวทำละลาย แสดงในรูปของ osmol / kg หรือ Osm / kg
Membrane transport
- กระบวนการขนส่งแบบไม่ใช้พลังงาน Passive Process
การแพร่ Diffusion
-
- การแพร่แบบธรรมดาของนํ้าผ่านเยื่อเซลล์ Osmosis
- การแพร่แบบเร่งรัด Facilitated Diffusion
- กระบวนการขนส่งแบบใช้พลังงาน Active Process
- การขนส่งผ่านเยื่อเซลล์แบบใช้พลังงาน Active Transport
- การขนส่งแบบ Vesicular Transport
Vesicle
Endocytosis เป็นการลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าสู่เซลล์ โดยใช้ส่วนของเยื่อเซลล์โอบล้อมสารที่จะนำเข้าสู่เซลล์ให้เป็นถุงแล้วกลืนเข้าไปในไซโตพลาสซึม
Exocytosis เป็นการลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกนอก เช่น เซลล์เยื่อบุผนังกระเพาะอาหารจะมีการคัดหลั่ง (Secretion) ของสารพวกเอนไซม์
-
Cytoplasm & Organelles
-
Organelles
Endoplasmic reticulum คือเซลล์ออร์แกเนลล์ เป็นเมมเบรนสองชั้นที่ยื่นออกมาในลักษณะ 3 มิติ และแผ่ออกเป็นแผ่นกระจายอยู่ในส่วน
ไซโทพลาซึมของยูแคริโอตเซลล์ ER แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด
-
ชนิดเรียบ (smooth ER) เป็นชนิดที่ไม่มีไรโบโซมมาเกาะ ไรโบโซมมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์
โปรตีนและเอนไซม์ทุกชนิดจะถูกสังเคราะห์จะถูกสังเคราะห์ขึ้นภายในเซลล์เท่านั้น โดยใช้กรดแอมิโนที่ร่างกายได้รับจากอาหาร
Golgi apparatus
-
-
ทำหน้าที่เติมคาร์โบไฮเดรตให้กับ โปรตีน หรือลิพิด
ที่รับมาจากเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดขรุขระ ( รวบรวมบรรจุและขนส่ง ) เช่น เติมคาร์โบไฮเดรตเพื่อห่อหุ้มโปรตีนและได้เป็นไกลโคโปรตีน เติมคาร์โบไฮเดรตเพื่อห่อหุ้มลิพิดและได้เป็นไกลโคลิพิด จากนั้นส่งเป็นเวสิเคิลออกนอกเซลล์ หรือใช้ภายในเซลล์
-
-
Cell membrane
มีลักษณะเป็นเยื่อบางประกอบด้วย สารไขมันและโปรตีน เยื่อหุ้มเซลล์มีรูเล็กๆ ทำให้สามารถจำกัดขนาดของโมเลกุลของสารที่จะผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ดังนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จึงมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน หรือเซมิเพอเมียเบิลเมมเบรน(impermeable membrane)
ห่อหุ้มส่วนที่อยู่ภายในทั้งหมด และเป็นเยื่อเลือกผ่าน (impermeable membrane หรือ differentially permeable membrane) ดังนั้นจึงทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนสาร ระหว่างเซลล์และสิ่งที่อยู่โดยรอบ รวมทั้งการกระจายประจุไฟฟ้า จนทำให้เกิด ความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้นได้ ระหว่างภายในเซลล์ และนอกเซลล์
Phospholipid bilayer
เป็นเยื่อบางๆ ล้อมรอบไซโทโทพลาซึม พบในเซลล์ทุกชนิด มีคุณสมบัติยอมให้สารบางชนิดผ่านเข้าออกเท่านั้น เช่น ยอมให้น้ำตาลกลูโคสผ่าน แต่ไม่ยอมให้น้ำตามซูโคลสผ่าน
-
-
Cytoskeleton
เป็นโครงร่างที่ประกอบด้วยโปรตีนชนิดต่างๆที่ช่วยยึด organelle ต่างๆ ช่วยให้เซลล์มีโครงสร้างที่คงตัวไม่แปรเปลี่ยนง่าย
Membrane proteins
หน้าที่
- Structural protein เป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่ให้ความเเข็งเเรงต่อเยื่อหุ้มเซลล์ทำให้รูปร่างอยู่ได้
- Pump โปรตีนที่ทำหน่าที่ช่วยในการขนส่งแบบ active
-
- Ionic channel ประกอบกันเป็นช่องทางให้ไอออนเคลื่อนที่ผ่านเข้าออกเซลล์
- Receptor เป็นตัวรับซึ่งอาจเป็นที่จับกับฮอร์โมนหรือ สารที่หลั่งจากประสาท
- Enzyme ช่วยในการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆ
- Antibody คือ ไกลโคโปรตีนที่เกาะอยู่ที่ผิวของเยื่อหุ้มเซลล์
Facilitated transport
เกิดขึ้นเฉพาะในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น คือการเคลื่อนที่ของสารบางชนิดที่ไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรง จึงต้องอาศัยโปรตีนตัวพา (Protein Carrier) ที่ฝังอยู่บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์ทำหน้าที่รับส่งโมเลกุลของสารเข้า-ออก โดยมีทิศทางการเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ เช่น การลำเลียงสารที่เซลล์ตับและเซลล์บุผิวลำไส้เล็ก หรือการเคลื่อนที่ของน้ำตาลกลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อ เป็นต้น
-
-
Osmotic pressure แรงดันที่เกิดขึ้นเพื่อต้านการเคลื่อนที่ของตัวทำละลายที่ผ่านเยื่อบางๆ เช่นเยื่อหุ้มเซลล์
Secondary active transport พลังงานที่ใช้จะไม่ได้จากการสลาย ATP โดยตรง แต่มาจากการขนส่งโซเดียมไอออนตามความลาดเชิงความเข้มข้นเข้าสู่เซลล์