Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน - Coggle Diagram
องค์ประกอบสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
องค์ประกอบที่ 1 การจัดทำป้ายชื่อ
ขั้นตอนการจัดทําป้ายชื่อพรรณไม้
การศึกษาโครงสร้างส่วนประกอบ และการจำแนกชนิดพืช โดยใช้เอกสาร การศึกษาพรรณไม้ ก 7-003
สำรวจ ติอชื่อพื้นเมือง และหมายเลขประจำต้น
การจัดทำตัวอย่างพรรณไม้แห้ง
การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
การจัดทำผังพรรณไม้
การจัดทำทะเบียนพรรณไม้
การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้ที่สมบูรณ์
ป้ายชื่อประจำต้นไม้ในโรงเรียนประกอบด้วย
ชื่อวิทยาศาสตร์
ชื่อพื้นเมือง
ชื่อวงศ์
ชื่อสามัญ
ประโยชน์
รหัสสร้างจิตสำนึกฯ
รหัสประจำต้นพืชแต่ละชนิด
รหัสไปษณีย์ประจำท้องถิ่น
รหัสโรงเรียนเข้าร่วมโครงการฯ ของแต่ละจังหวัด
องค์ประกอบที่ 2 การรวบรวมพันธุ์ไม้นำเข้าปลูกในโรงเรียน
การเก็บรวบรวมพืชในกลุ่มที่สนใจ
การเก็บรวบรวมพืชพรรณไม้ท้องถิ่น
มีการบันทึกแหล่งที่เก็บรวบรวม ข้อมูลการใช้ประโยชน์ของท้องถิ่น
มีการจัดทำผังภูมิทัศน์ และการออกแบบภูมิทัศน์
การปลูกพรรณไม้และการดูแลบำรุง รักษา
การเก็บรวบรวมข้อมูลและภูมิปัญญาท้องถิ่น
องค์ประกอบที่ 3 การศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ
การศึกษาด้านชีววิทยา
การศึกษาด้านนิเวศวิทยา
การศึกษาด้านการปลูกเลี้ยงและการดูแลรักษา
การศึกษาด้านการใช้ประโยชน์ในท้องถิ่น
การศึกษาธรรมชาติแห่งชีวิต รู้การเปลี่ยนแปลง
รู้ความแตกต่าง รู้ชีวิต
การศึกษาสรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว รู้สัมพันธ์ รู้ผูกพัน
รู้ดุลยภาพ
การศึกษาประโยชน์แท้แก่มหาชน
การศึกษาผันสู่วิถีใหม่ในฐานไทย
องค์ประกอบที่ 4 การเขียนรายงาน
เขียนรายงานแบบรายงานวิชาการ
การเขียนรายงานเชิงพรรณนา คุณธรรม คติธรรม
นำเสนออันจะก่อให้เกิดผู้เชี่ยวชาญท้องถิ่น ของพืชชนิดนั้นๆ
ศึกษาต่อเนื่องให้ได้ข้อมูลถูกต้อง ชัดเจน
การรวบรวมรายงานจากการศึกษา
ข้อมูลเก็บไว้ในมุมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
องค์ประกอบที่ 5 การนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
นำไปบูรณาการวิชาการ
นำองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในวงกว้าง
การนำไปใช้ในการเรียน การสอนบูรณาการใน
รายวิชาต่างๆ
การใช้ประโยชน์ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
นำไปบูรณาการแห่งชีวิต
การใช้ประโยชน์ด้านการอนุรักษ์ การขยายพันธุ์ ปลูก เลี้ยง ให้เกิด ผลประโยชน์แก่โรงเรียน
การนำองค์ความรู้ไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง
การนำองค์ความรู้ไปสู่พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงาน
จะเกิดความร่วมมือ ร่วมใจกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
จะเป็นแหล่งข้อมูลพืชพรรณและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่กระจายทั่วประเทศ
เป็นส่วนหนึ่งของสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
นักเรียน เยาวชน จะมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณของท้องถิ่น
เมื่อนักเรียน เยาวชน ใกล้ชิดธรรมชาติก่อให้เกิดจิตใจที่อ่อนโยน มีสมาธิในการเรียน การทำงาน ผลการเรียนดีขึ้น