Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ธรรมชาติของวัยเด็กเรียน
อยากรู้อยากเห็น
ทําไมจึงเกิดและจะชอบอ่านหนังสือเพื่อหาคําตอบ
อยากรู้อยากเห็นมากเช่นเดียวกับวัยเด็กตอนต้น
อยากทดลอง อยาก
เก่ง อยากร่วมมือ จึงเรียนหนังสือได้ดีขึ้น
ถามซอกแซกยิ่งขึ้น
อยากทราบเหตุผล
มีความสนใจ มีสมาธิ และระเบียบวินัย
อายุ 8 ปีช่วงความสนใจจะนานขึ้น
สนใจเก็บสะสมสิ่งของที่สนใจ
ชอบทำงานผีมือและ
อยากฝึกกทักษะให้มีความชํานาญเพิ่มขึ้น
นักวิชาการถือว่าวัยนี้เป็นวัยล่อแหลม (critical period) เนื่องจาก
เด็กเริ่มพัฒนาความต้องการใฝ่สำฤทธ
การสร้างนิสัยว่าเป็นผู้ประสบความสำเร็จ
ขึ้นอยู่กับความสามารถของเด็กแต่ละคน
เด็กผู้หญิงทำงานด้านการเรียนได้ดีกว่าเด็กผู้ชายในชั้นเดียวกัน เพราะเด็กผู้ชายพัฒนานิสัยการทำงานที่ต่ำกว่าความสามารถ
.รู้จักตนเอง เริ่มมองเห็นตนเอง
วิพากษวิจารณ์ตนเองยอมรับความแตกต่างของคนอื่น
สนใจการรวมกลุ่มที่เป็นวัยเดียวกัน (peer group)
เริมเรียนรู้เอกลักษณ์กลุ่มของตนเอง
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการเด็กวัยเรียน
พัฒนาการด้านร่างกาย
เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง ทางเพศ โดยเฉพาะ
เพศหญิงอาจมีการเข้าสู่วัยสาวที่อายุ 7-8 ปี
อัตราการเจริญเติบโตจะชาลงเล็กน้อยแต่เป็นไปย่างสม่ำเสมอ
เด็กหญิงจะโตเร็วกวjาเด็กชายร่างจะขยายออกด้านส่วนสูงมากกว่าส่วนกว้าง
กล้ามเนื้อและระบบประสาท
ทำงานประสานกันไดดีขึ้น
มีผลต่อการพัฒนาด้านการเรียนรูและสติปัญญาที่ต้องใชอวัยวะประเภทนี้เป็นสื่อจึงสามารถปฏิบัติได้ดี
อายุ 6 ขวบ สายตาและกล้ามเนื้อมือยังทำงานประสานกันได้ไม่ดีนัก
อายุ 7 ขวบ มีพลังงานมาก
กล้ามเนื้อเข็งแรงขึ้นทำงานประสานกันได้ดีขึ้นโดยเฉพาะกล้ามเนื้อมัด
ใหญ
กล้ามเนื้อมือจะทำงานประสานกับกล้ามเนื้อตาได้ดีขึ้น
เขียน
หนังสือได้
สามารถโยนของและรับของได้
อายุ8 ปี การเคลื่อนไหวคล่อง ควบคุมกล้ามเนื้อได้ดี เล่นกีฬากลางแจ้งได้ดีขึ้น
อายุ 9 ปี กล้ามเนื้อมัดเล็กเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น
กระดูและฟัน
กระดูกจะเจริญเติบโตเกือบเต็มที่จะขยายยาวขึ้น
อายุได้ 12 ปี จะมีความสูงเพิ่มขึ้น 30-60 เซนติเมตร โดยทั่วไปจะสูงประมาณ 150 เซนติเมตร
จะมีฟันแท้ซี่แรกงอกเมื่ออายุ 6 ปี และฟันน้ำนมจะเริ่มหัก
เด็กหญิงจะมีฟันขึ้นเร็วกว่าเด็กชายเด็กชายเล็กน้อย
อวัยวะภายใน เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วเกือบทุกระบบ
อวัยวะเพศ
เจริญเติบโตยังไม่เต็มที่แต่เด็กตอนปลายจะมีความตระหนักถึงบทบาททางเพศ
อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับร่างกายของเพศตรงข้าม
ในเพศหญิงช่วงอายุ 8-12 ปี จะมีลักษณะเพศขั้นที่สอง
ปรากฎชัดเจน
เพศชายมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วเมื่ออายุ 12-14 ปี
พัฒนาการด้านสติปัญญา
มีการคิดอย่างใช้เหตุผลเชิงรูปธรรม (concrete operation) ตามทฤษฎี
พัฒนาการด้านสติปัญญาของ Piagetโดยเข้าใจบทบาทของแต่
ละคน
เด็กวัยนี้สามารถเล่นและทำกิจกรรมกลุ่มแบบร่วมมือกัน
รู้จักการอดทนรอคอย
ควบคุมตนเอง ยืดหยุ่นทางความคิด และวางแผนจัดการต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม
มีความต้องการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ จากประสบการณ์ของตนเอง และของคนรอบข้าง
ชอบแข่งขันและแสดงออก
เด็กจะอ่อนไหวกับความรู้สึกสำเร็จหรือล้มเหลว Erikson
สามารถสื่อสารบอกความรู้สึกของตนเองโดยการพูดได้ดีขึ้น
แสดงออกซึ่งเอกลักษณ์ทางเพศอย่างชัดเจน
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยเรียน
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยเรียนด้านร่างกาย
ปัญหาภาวะโภชนาการเด็กมีปัญหาโภชนาการเกินจำนวนมาก
ปัญหาสุขภาพในช่องปากมีปัญหาฟันผุกว่าครึ่ง
ปัสสาวะรดที่นอน
ปัญหาจะหมดไปเมื่ออายุ 6 ปี
อายุเกิน 6 ปีแนะนำให้ปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจหาโรคทางร่างกายที่อาจเป็นสาเหตุในการปัสสาวะรดที่นอน
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยเรียนด้านจิตใจ
ปัญหาการเรียนภาวะบกพร่องในทักษะการเรียน (Specific Learning Disorder)
กลุ่มโรคที่มีความบกพร่องในกระบวนการเรียนรู้มีสาเหตุมาจากสมองทำงานบกพร่อง
ทำให้มีปัญหาในทักษะการเรียน รู้เฉพาะด้าน
ทักษะในการอ่านหนังสือ
การเขียน
การคำนวณ
เป็นความผิดปกติที่ติดตัวมาแต่กำเนิด แต่จะเริ่มเห็น
อาการเมื่อเข้าประถม
การไม่อยากไปโรงเรียน
มักเกิดขึ้นในช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์
อาจมีอาการแสดงออก
ให้เห็นชัดเจนทางร่างกาย
คลื่นไส
อาเจียน
ปวดศีรษะ
ปวดท้อง
เด็กจะรู้สึกกลัวจากการแยกจากผู้ปกครอง
ติดเกม
การให้เด็กรู้จักและเล่นเกมเท่ากับเอาสิ่งอันตรายมาใกล้
ตัวเด็ก
พ่อแม่ที่ใจอ่อนตามใจไม่มีเวลามักพบว่าเป็นต้นเหตุของการติดเกม
เด็กที่ติดเกมมักมีปัญหาต่อไปนี้
ไม่สนใจการเรียน
ไม่สนใจทำกิจกรรมร่วมกับคนอื่นหรือใช้เงินมากขึ้น
โกหกเพื่อไปเล่น
อยู่ในโลกของตัวเอง
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยเรียนด้านสังคม
การพูดโกหก
มีได้หลายแบบ
แต่งเรื่อง
โยนความผิดให้คนอื่น
พูดตรงข้ามความจริง เกินความจริง
ความรู้สึกที่อยู่ในใจใต้พฤติกรรมการโกหกนั้น
คนโกหกเพื่อปกป้องตนเองจากการถูกลงโทษ
กลัวว่าครูจะเกลียด กลัวพ่อแม่ด่าว่า กลัวความรู้สึก
ว่าตนเองไร้ค่าไม่ได้เรื่อง
ความกลัว
ก้าวร้าว แกล้งเพื่อน
ล้อเลียน
ปัญหาด้านอารมณ์และปรับตัวยาก ไม่มีเพื่อน
ขาดความสามารถที่ควรมี
ขาดประสบการณ์ ไม่มั่นใจ ขี้กังวล
พื้นอารมณ์หรือนิสัยเดิมที่ชอบแยกตัว
สาเหตุมักมาจากขาดการฝึกฝน
การประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
แนวทางการการประเมิน
สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งจากการซักประวัติ และการตรวจร่างกาย
ซักประวัติเด็กร่วมกับซักประวัติจากผู้ปกครอง
เด็กอายุ10 ปี ขึ้นไป สามารถซักประวัติโดยตรงจากเด็กได้ ในขณะที่บิดามารดาไม่อยู่
สิ่งที่ต้องคำนึงในการประเมินสภาพเด็กวัยเรียน
เด็กวัยเรียนตอนต้นควรให้พ่อแม่อยู่ด้วยขณะตรวจ
เด็กวัยเรียนตอนปลายอาจให้พ่อแม่อยู่นอก
ห้องถ้าเด็กต้องการ
ลำดับการตรวจเป็นไปตามปกติ
ควรตรวจอวัยวะสืบพันธุ์เป็นลำดับสุดท้าย และปิดม่าน
ปิดผ้าให้มิดชิด
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพวัยเรียน
. การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย
การส่งเสริมด้านโภชนาการ
ความต้องการพลังงานเด็กวัยเรียน = (น้ำหนักร่างกาย 10 กิโลกรัม x 100)+ (น้ำหนักร่างกาย 10 กิโลกรัม x 50) + (น้ำหนักที่เกิน 20 กิโลกรัม x 20)
แนวทางการบริโภคอาหารเด็กวัยเรียน
เด็กวัยนี้ควรได้รับโปรตีนวันละ 1.2 กรัมต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัมของ
ร่างกาย
วิตามินและเกลือแร่เหล่านี้จะได้จากการกิน
อาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ในปริมาณที่เพียงพอ
แนวทางแก้ไขเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน (เริ่มอ้วน/อ้วน)
ออกกําลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ครั้งละ 20 นาทีและเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำ
งดกินจุกจิกเชน ขนม น้ำหวาน น้ำอดลม
แนะนําการใหอาหารครบทุกกลุ่ม ได้แก่ เนื้อสัตว/ไข/นม ข้าว -แปง ผัก ผลไม้และน้ำมัน ในปริมาณที่เหมาะสมและควรกนให้กินหลากหลาย
ติดตามการชั่งน้ำหนักทุกเดือนและวัดสวนสูงทุก 6 เดือน
ลดอาหารที่ใหพลังงาน ได้แก่ อาหารประเภทข้าว-แป้ง และอาหารไขมัน
การส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก
สิ่งสำคัญ คือ การสร้างนิสัยการกินและการรักษาความสะอาดฟันของเด็กให้ถูกต้อง
เด็กควรได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้โดยเร็วที่สุดก่อนที่ฟันจะเริ่มผุ
เน้นการแปรงฟันอย่างถูกวิธีวันละ 2 ครั้ง เช้าและก่อนนอน
ส่งเสริมทักษะการป้องกันอุบัติเหตุในวัยเรียน
อุบัติเหตุในชุมชน ควรสอนให้เด็กรู้จักหลีกเลี่ยงสถานที่ไม่ปลอดภัยในชุมชน
อุบัติเหตุจากยานพาหนะ เช่น ไม่เล่นกันขณะเดินบนถนน
ส่งเสริมความสามารถในการดูแลสุขภาพร่างกายทั่วไป
ตรวจคัดกรองโรคเป็นระยะ
พยาบาลอนามัยโรงเรียนควรแนะนำเรื่องการ
รักษาความสะอาดร่างกายทั่วไป การแปรงฟัน กำจัดเหา
การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา
ควรสนับสนุนให้เด็กเรียนหรือทำกิจกรรมที่เหมาะสมตามความสามารถ
ควรให้การตอบสนองในเชิงบวกเมื่อเด็กเรียนหรือทำกิจกรรมได้ดี
ส่งเสริมให้เด็กมีความรับผิดชอบด้านการเรียนด้วยตนเอง
ควรมีการสื่อสารติดต่อกับพ่อแม่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อติดตามปัญหาต่าง ๆ ของเด็ก
ควรปลูกฝังให้เด็กรักการอ่าน
ควรจัดเวลาให้เด็กได้เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัว
การส่งเสริมด้านอารมณ์และสังคม
ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเองและครอบครัว
ผู้ปกครองควรช่วยเหลือเด็กให้เรียนรู้ความจริง และอธิบายถึงภาวะครอบครัวที่ดี
ผู้ปกครองควรมอบหมายให้เด็ก
รับผิดชอบงานบ้านเล็ก ๆ น้อย ๆ
สร้างเสริมทักษะที่จำเป็นแก่เด็กวัยเรียน
ฝึกให้เด็กเข้าใจตนเอง รู้จักรับฟังความคดิเห็น มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น รู้จักอดทน อดกลั้น และรู้จักรอ
ส่งเสริมให้เด็กใช้คำพูดในการสื่อสารให้ถูกกับกาลเทศะ แ
สอนให้เด็กรู้จักคบเพื่อน สามารถมีเพื่อนทั้งสองเพศได้
ส่งเสริมให้เด็กทำกิจกรรมกลุ่มที่โรงเรียน ฝึกทักษะการทำงานเป็นทีม
ส่งเสริมให้เด็กเล่นกีฬา เพื่อฝึกทักษะความอดทน
สอนให้เด็กมีทักษะในการจัดการกับปัญหา สามารถจัดการกับความขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สอนให้เด็กรู้จักขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาหรือไม่สบายใจ
สอนให้เด็กรู้จักสถานการณ์อันตรายและรู้จักหลีกเลี่ยง
ปลูกฝังการมจิตสาธารณะ กระตุ้นให้เด็กรู้จักแบ่งปัน
การเสริมสร้างความภาคภูมิใจ
เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก
แสดงออกถึงการยอมรับว่าเด็กมีคุณค่า มีความสามารถ ชื่นชมและส่งเสริมลักษณะเด่น
ฝึกให้เกิดความสุข ความพอใจ และพอเพียง
ส่งเสริมให้แสดงความคิดรู้จักตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยตนเอง ให้ทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเองให้มากที่สุด
ส่งเสริมให้มีส่วนรับผิดชอบในการทำงานและกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
การเสริมสร้างความมีวินัยและความรับผิดชอบ
สอนให้เด็กปฏิบัติตามกฎกติกา
ฝึกให้เด็กรับผิดชอบตัวเองให้มากที่สุด
สอนให้เด็กรู้จักการใช้เงินและออมเงิน
ให้ความอบอุ่นกับเด็ก หากเด็กมีปัญหาอะไรสามารถพดู คุยกับครูได้
การเสริมสร้างทักษะทางสังคม
ทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต เช่น การช่วยเหลือตนเอง การทำหรือการหาอาหาร ทำงานบ้านการซื้อของ เก็บเงินดูแลทรัพย์สินของตนเองและส่วนรวม
ทักษะที่เป็นสื่อในการเข้าสังคม เช่น การละเล่นยามว่าง เช่น กีฬา ดนตรี เต้นรำ การควบคุมอารมณ์และการแสดงออกที่เหมาะสม การเข้าใจความรู้สึกกับผู้อื่น การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
ทักษะการเอาตัวรอดภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ทักษะการวางแผนความรอบคอบ
ทักษะในการเดินทาง เช่น การขึ้นรถเมย์ รถไฟฟ้ารถใต้ดิน การขับขี่รถจักรยานยนต์
ทักษะในการไตร่ตรอง การสังเกต วิเคราะห์และศึกษาผู้คนที่อยู่รอบ ๆ ตัวเพื่อให้เข้าใจคน และรู้เท่าทันความคิดที่ไม่ดีของคนบางคน
การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ
สร้างเสริมความมั่นใจในการไปโรงเรียนของเด็กวัยเรียน
พยาบาลควรส่งเสริมให้ผู้ปกครองร่วมมือ
กันในการค้นหาสาเหตุที่แท้จริง และ แก้ปัญหาที่สาเหตุ
ขณะที่หยุดอยู่กับบ้านไม่ยอมไปโรงเรียน ไม่ควรให้เด็กได้เที่ยวหรือทำกิจกรรมที่บันเทิง
วิตกกังวลจากปัญหาด้านการเรียน
เด็กวัยเรียนจะให้ความสำคัญกับการเรียน การได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้มีความสามารถสูง เก่ง จะทำให้เกิดปัญหากังวลใจขึ้นได้
ผู้ปกครองไม่ควรคาดหวังกับเด็กมากเกินไปจนเด็กเกิดความเครียด
ผู้ปกครองควรมองสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
ส่งเสริมความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
พ่อแม่สืบหาสาเหตุที่แท้จริงว่าเด็กมี
ความเครียดเรื่องอะไร หรือเกิดจากโรคทางกาย
แนะนำผู้ปกครองให้มีการปรับพฤติกรรมเด็ก
เช่น ให้เด็กดื่มน้ำและนมก่อนนอนให้น้อยลง ปัสสาวะก่อนเข้านอน
ปลุกเด็กให้ตื่นมาปัสสาวะตอนดึก
ในช่วงที่เคยฉี่รดที่นอน
ไม่ตำหนิเด็กเมื่อยังทำไม่ได้ แต่ให้เด็กร่วมรับผิดชอบจากการที่ปัสสาวะรดที่นอน