Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การประเมินหลักสูตร - Coggle Diagram
บทที่ 8
การประเมินหลักสูตร
จุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตร ส่วนใหญ่จะเป็นการประเมินเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับคุณค่าของหลักสูตรว่าเป็นอย่างไร โดยจะตัดสินว่าหลักสูตรมีคุณภาพดีหรือไม่ มีส่วนใดต้องปรับปรุงแก้ไขหรือยกเลิกและเป็นการประเมินหลักสูตรเพื่อตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียนว่ามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรหรือไม่
ขอบเขตในการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรสามารถประเมินในขอบเขตที่แตกต่างกันได้ โดยอย่างน้อยสิ่งที่จะต้องประเมินหลักสูตร คือ การประเมินเอกสารหลักสูตรที่ได้พัฒนาขึ้น การใช้หลักสูตรของครูหรือผู้สอนผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน และประเมินระบบหลักสูตร
ความหมายของการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตร คือ กระบวนการเก็บรวบรวมและศึกษาข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตรวจสอบหลักสูตร และตัดสินว่าหลักสูตรมีคุณค่าบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ และสัมพันธ์กับความคิดเห็นของลี ครอนบาค (Lee J. Cronbach, 1970 : 231) ได้สรุปไว้ว่า การประเมินหลักสูตร คือ การรวบรวมข้อมูล และการใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจในเรื่องโปรแกรมหรือหลักสูตรการศึกษา
ขั้นตอนในการประเมินหลักสูตร
ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ประเมินเก็บรวบรวมข้อมูลตามกรอบขอบข่ายและระยะเวลาที่กำหนดไว้
ในปฏิทินปฏิบัติงานประเมินผล
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล กำหนดวิธีการจัดระบบข้อมูลโดยอาจจำแนกข้อมูลเป็น หมวดหมู่และพิจารณาเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ที่เหมาะสม ซึ่งมักจะขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการ ประเมินผล และลักษณะของข้อมูล จากนั้นจึงวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น โดยเปรียบเทียบกับ เกณฑ์ที่กำหนดว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่เพียงใด
ขั้นวางแผนออกแบบการประเมินผล
2.1 การก าหนดกลุ่มตัวอย่างในการประเมินหลักสูตร 2.2 การก าหนดแหล่งข้อมูลก่อนลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล
2.3 การพัฒนาเครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.4 การกำหนดเกณฑ์ในการประเมิน และ 2.5 การกำหนดเวลาผู้ประเมิน
ขั้นรายงานผลการประเมิน มุ่งหมายขั้นตอนของการประเมินหลักสูตรแล้ว มุ่งเสนอข้อมูลที่บ่งชี้ให้เห็นว่าหลักสูตรนี้เมื่อนำไปปฏิบัติ จริงแล้วมีคุณภาพหรือไม่เพียงใด มีส่วนใดบ้างที่ควรแก้ไขปรับปรุงหรือยกเลิกเมื่อทราบความมุ่งหมายขั้นตอนของการประเมินหลักสูตรแล้ว
ขั้นกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินหลักสูตร ผู้ประเมินหลักสูตรต้องกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประเมินให้ชัดเจน
ประโยชน์ของการประเมินหลักสูตร
ช่วยในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน
ช่วยในการปรับปรุงการบริหารในสถานศึกษาและการปฏิบัติงานของบุคลากร
ช่วยส่งเสริมและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้ดีขึ้น
ช่วยในการแนะแนวทั้งด้านการเรียนและอาชีพแก่ผู้เรียน
ท าให้ทราบว่าหลักสูตรที่สร้างหรือพัฒนาขึ้นนั้นมีข้อดีหรือข้อเสียตรงไหน
ช่วยชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมา
ระยะเวลาการประเมินหลักสูตร
นวรัตน์ สมนาม (2546 : 209-212) ได้สรุปว่าการประเมินผลหลักสูตรเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ก่อนการใช้หลักสูตร การศึกษาวิจัยระหว่างการใช้หลักสูตร และการศึกษาวิจัยหลังการใช้หลักสูตรการประเมินผลหลักสูตรที่ดีจึงต้องตรวจสอบเป็นระยะ ๆ ดังต่อไปนี
การประเมินผลหลักสูตรก่อนนำหลักสูตรไปใช้
1.1 การก าหนดจุดมุ่งหมายการประเมินหลักสูตร
1.2 การวางแผนการด าเนินการประเมิน
1.3 การทดลองการใช้หลักสูตรฉบับร่าง
1.4 การประเมินผลจากการทดลองใช
การประเมินหลักสูตรระหว่างการด าเนินการใช้หลักสูตร
2.1 การประเมินระบบบริหารและการจัดการหลักสูตร
2.2 การประเมินการจัดกระบวนการเรียนการสอน
2.3 การประเมินระบบการบริหารและวิธีการนิเทศกำกับดูแลเกี่ยวกับการใช้หลักสูตร
2.4 การประเมินผลผลิตของหลักสูตร
การประเมินผลหลักสูตรหลังการใช้หลักสูตรก่
3.1การเลือกองค์ประกอบหลักสูตร
3.2การปรับปรุงองค์ประกอบหลักสูตร
3.3การปรับปรุงคุณภาพของหลักสูตร
รูปแบบของการประเมินหลักสูตร
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของเลวี
1 การประเมินสัมฤทธิผลหลักสูตร เป็นแนวทางส าหรับการประเมินหลักสูตรที่มุ่งเน้นการศึกษาสัมฤทธิผลที่ได้จากการใช้หลักสูตร รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ได้น นำไปประยุกต์ใช้มาก ในกลุ่มนี้ก็คือ รูปแบบการประเมินหลักสูตรของไทเลอร์ (Tyler)
2 การประเมินคุณค่าของหลักสูตร เป็นการประเมินเพื่อดูว่าหลักสูตรสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ที่ก าหนดได้ดีเพียงใดและได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่าหรือไม่ ตัวอย่างของรูปแบบการประเมินหลักสูตรในแนวนี้ได้แก่ รูปแบบการประเมินของสเตค (Stake) และรูปแบบของโพรวัส (Provus)
3 การประเมินในลักษณะของการตัดสิน เป็นรูปแบบการประเมินที่เน้นการทำงานอย่างมีระบบเกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการเสนอผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลนั้น ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น รูปแบบการประเมินหลักสูตรของฟาย เดลตา แคปปา(Phi Delta Kappa) และรูปแบบของสตัฟเฟิลพีม (Stufflebeam)
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสตัฟเฟิลบีม
.2 การประเมินปัจจัยเบื้องต้น (Input Evaluation : I) เป็นการประเมินเพื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ของความเหมาะสม และความพอเพียงของทรัพยากรที่จะใช้ในการออกแบบประสบการณ์
.3 การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P) เป็นการประเมินกิจกรรมหรือกระบวนการเพื่อตรวจสอบข้อบกพร่องขณะด าเนินการใช้หลักสูตรน ามาส าหรับการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้หลักสูตร และเก็บข้อบันทึกข้อมูลสิ่งที่เกิดขึ้นในขณะที่ใช้หลักสูตร
.1 การประเมินด้านบริบท (Context Evaluation : C) เป็นการประเมินให้ได้ข้อมูลสำคัญเพื่อการกำหนดหลักการและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
.4 การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P) เป็นการประเมินองค์ประกอบที่เป็นผลผลิตและผลกระทบของการใช้หลักสูตร และยังเป็นข้อมูลสำหรับการปรับปรุงหลักสูตรหรือยกเลือกการใช้หลักสูตร
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของโพรวัส
3 การประเมินกระบวนการ (Program Process)
4 การประเมินผลผลิตของหลักสูตร (Program Product)
2 การดำเนินการเริ่มใช้หลักสูตร (Program Installation)
.5 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทน (Cost Benefit Analysis)
.1 นิยามหลักสูตร (Program Definition)
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของสเตค
2 ด้านกระบวน (Transactions)
3 ด้านผลผลิต (Outcomes)
1 ด้านตัวป้อน (Antecedents)
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของไทเลอร์
.3 ก าหนดสถานการณ์ที่แสดงความส าเร็จของจุดมุ่งหมาย
.4 พัฒนาและเลือกเทคนิคในการวัด
.2 กำหนดจุดมุ่งหมายเฉพาะ
5 กำหนดเนื้อหา หรือประสบการณ์ทางการศึกษา เพื่อให้สอดคล้องและบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
1 กำหนดจุดมุ่งหมายอย่างกว้าง ๆ
6 รวบรวมข้อมูลที่เป็นผลงานของผู้เรียน
7 เปรียบเทียบข้อมูลกับจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
8 ถ้าไม่บรรลุจุดมุ่งหมายที่ก าหนดไว้ จะต้องมีการตัดสินใจ ปรับปรุงหลักสูตร หรือยกเลิก ถ้าบรรลุจุดมุ่งหมายก็อาจจะใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับในการพัฒนาคุณภาพของหลักสูตร
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของแฮมมอนด์
3 มิติด้านพฤติกรรม
.3 ก าหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
.2 ก าหนดตัวแปรในมิติการสอนและมิติสถาบันให้ชัดเจน
.1 ก าหนดสิ่งที่ต้องการประเมิน
4 ประเมินพฤติกรรมที่ระบุไว้ในจุดประสงค
.5 วิเคราะห์ผลภายในองค์ประกอบและความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ
6 พิจารณาสิ่งที่เปลี่ยนแปลงปรับปรุง
2 มิติด้านสถาบัน ประกอบด้วยตัวแปรที่ควรค านึงถึงในการประเมินหลักสูตร 5 ตัวแปร
.3 ผู้บริหาร
.4 ผู้เชี่ยวชาญ
.2 ผู้สอนมีองค์ประกอบที่ต้องค านึงถึงในการประเมินหลักสูตร
1 ผู้เรียน
5 ครอบครัว
.6 ชุมชน
.1. มิติด้านการเรียนการสอน ประกอบด้วยตัวแปรส าคัญ 5 ตัวแปร
.3 วิธีการ
4 สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ
2 เนื้อหาวิชา
.5 งบประมาณ
1 การจัดชั้นเรียนและตารางสอน
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของเซย์เลอร์และอเล็กซานเดอร์
.3 รูปแบบที่เน้นการตัดสินใจ (Decision Making Model) เป็นรูปแบบที่เน้นการประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative Evaluation)
3.1 การประเมินบริบท (Context)
3.2 การประเมินปัจจัยตัวป้อน (Input)
3.3 การประเมินกระบวนการ (Process)
3.4 การประเมินผลผลิต (Product)
4 รูปแบบที่เน้นการตอบสนอง (Responsive Model) เน้นการรวบรวมข้อมูลจากสิ่งต่าง ๆ ได้แก่ สิ่งที่มาก่อนกระบวนการในการสอน ผลที่เกิดขึ้นเพื่อใช้ในการอธิบายหรือตัดสินใจ
.2 รูปแบบที่เน้นจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม (Behavioral Objective Model) การประเมินจึงเป็นการประเมินว่ามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเกิดขึ้นหรือไมj
5 รูปแบบที่ไม่ประเมินเป้าหมาย (Goal Free Evaluation Model) เป็นรูปแบบการประเมินที่ตัดสินสิ่งที่ประเมิน โดยไม่นำไปเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่วางไว้แต่ควรสนใจผลกระทบจากโครงการนั้นว่าเป็นความต้องการที่แท้จริงหรือไม่
1.รูปแบบการประเมินเพื่อรับรองคุณภาพ (Accreditation Model) เป็นรูปแบบการประเมินที่เก่าแก่ที่สุดรูปแบบหนึ่ง ใช้เพื่อการประเมินเพื่อรับรองหรือยอมรับโครงการการศึกษาที่สถาบัน