Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน, นางสาวณิชากร…
บทที่ 7 การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนรายงานการวิจัย
ความสำคัญของรายงานการวิจัย
1.1 เป็นการเสนอข้อเท็จจริงหรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้า
1.2 เป็นการพัฒนาความคิด
1.3 เป็นการส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
1.4 สามารถนำข้อมูลไปใช้แก้ปัญหาต่างๆได้
1.5 เพื่อเสนอผลการค้นคว้า
ลักษณะของรายงานการวิจัย
จัดทำขึ้นหลังดำเนินโครงการเสร็จแล้ว
นำเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับการวิจัย
ภาษาที่ปรากฏในรายงานการวิจัยเป็นประโยคอดีตกาล
สาระของรายงานในแต่ละหัวข้อมีลีกษณะเฉพาะ สอดคล้องกัน
ส่วนประกอบของรายงานการวิจัย
3.1 การเขียนส่วนนำ
4) หน้าอนุมัติ
5) สารบัญ
2) ปกรอง
6) สารบัญตาราง
1) ปกนอก
7) สารบัญรูปภาพ
8) บทคัดย่อภาษาไทย
9) บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
3) กิตติกรรมประกาศ
3.2 การเขียนส่วนเนื้อหา
3.2.1 บทที่ 1 บทนำ
1) ความเป็นมาและความสำคัญ
2) วัตถุประสงค์
3) สมมุติฐาน
4) ขอบเขต
5) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
6) คำนิยายคำศัพท์เฉพาะ
3.2.2 บทที่ 2 เอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.2.3 บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
3) แบบการวิจัย
4) เครื่องมือที่ใช้
2) กลุ่มตัวอย่าง
5) การเก็บรวบรวมข้อมูล
1) ประชากรที่ศึกษา
6) การวิเคราะห์ข้อมูล
3.2.4 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
3.2.5 บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
3.3 การเขียนส่วนท้าย
3.3.1 บรรณานุกรม
3.3.2 การเขียนภาคผนวก
3.3.3 การเขียนประวัติผู้วิจัย
รูปแบบการเขีบยรายงานการวิจัย
4.1 รูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยก่อนที่จะเริ่มทำงานวิจัย
4.2 รูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยภายหลังงานวิจัยดำเนินการเสร็จสิ้น
4.2.1 รายงานการวิจัยที่เป็นวิทยานิพนธ์
4.2.2 รายงานการวิจัยสำหรับโครงการ
4.2.3 รายงานการวิจัยที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร
ลักษณะของการเขียนรายงานการวิจัยที่ดี
5.1 นำหลักการมาใช้อย่างเหมาะสม
5.2 แสดงความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์อย่างเหมาะสม
5.3 ความสมบูรณ์ ถูกต้องของเนื้อหา
5.4 ความชัดเจนของการเขียนรายงาน
5.5 ความเหมาัสมของรูปแบบ
ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานการวิจัย
6.1 ข้อบกพร่องทั่วไปของการเขียนรายงานการวิจัย
6.1.1 ด้านภาษา
6.1.2 ด้านการจัดพิมพ์
6.2 ข้อบกพร่องด้านมโนทัศน์ของการเขียนรายงานการวิจัย
6.2.1 ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทนำ
1) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
2) การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัย
3) ขอบเขต
4) นิยายคำศัพท์เฉพาะ
5) ประโยชน์ที่ได้รับ
6.2.2 ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทที่สอง
1) อ้างอิง
2) การเรียบเรียง
3) การนำเสนอเอกสารอ้างอิงที่ไม่ถูกต้อง
6.2.3 ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทที่สาม
2) การเขียนและสร้างเครื่องมือ
3) ไม่ระบุวิธีการหาคุณภาพ
1) การกำหนดประชากร
6.2.4 ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทที่สี่
1) ไม่ตอบประเด็นคำถาม
2) ตารางไม่เหมาะสม
3) เขียนบรรยายข้อมูลทุกส่วนตามตาราง
5) เลือกใช้สถิติไม่ถูกต้อง
4) นำเสนอข้อมูลสถิติไม่ครบถ้วน
6.2.5 ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานบทที่ห้า
1) มีตัวเลขประกอบซ้ำ
2) ข้อสังเกตไม่เชื่อมโยงทฤษฎี
3) อภิปรายปลีกย่อยเกินไป
4) ข้อเสนอแนะไม่เสนอจากผลการวิจัย
6.2.6 บรรณานุกรม
หลักการ เทคนิค การวางแผน และขั้นตอนการเขียนรายงานการวิจัย
หลักการการเขียนรายงานการวิจัย
1.6 ความชัดเจน
1.7 ความสม่ำเสมอ
1.5 ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่่อมโยง
1.4 ความเป็นเอกภาพ
1.8 ความตรงประเด็น
1.3 ความเป็นระบบ
1.9 ความต่อเนื่อง
1.2 ความครบถ้วน
1.1 ความถูกต้อง
เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย
2.1 ภาษาชัดเจน
2.2 ใช้ภาษาเขียน
2.3 หลีกเลี่ยงใช้คำภาษาต่างประเทศ
2.4 หลีกเลี่ยงการใช้อักษรย่อ
2.7 มีความคงที่ในการใช้สำนวน
2.8 ใช้ทศนิยมเดียวกัน
2.9 อ้างอิงวิจัยต้องใช้ประโยคที่เป็นอดีต
2.5 หลีกเลี่ยงการใช้สรรพนามบุรุษ
2.10 เรียงลำดับอย่างเป็นระบบ
2.6 เขียนถูกต้องตามหลักการ
การวางแผนการเขียนรายงานวิจัย
3.1 วางโครงเรื่อง
3.2 กำหนดแนวคิด
3.3 กำหนดวัตถุประสงค์
ขั้นตอนการเขียนรายงานการวิจัย
4.1 วางโครงเรื่อง
4.2 เตรียมเนื้อหา
4.3 นำเนื้อหาที่เตรียมไว้มาเรียบเรียง
4.4 ปรับปรุงรายงานการวิจัย
แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยส่วนนำ
ปก
ปกหน้า
ปกใน
บทคัดย่อ
2.1 ระบุชื่อเรื่อง ชื่อผู้วิจัย ปี
2.2 ระบุสาระ
2.3 ความยาวเนื้อหาไม่ควรเกิน 1 หน้า
2.4 อาจทำบทคัดย่อเป็นภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญตาราง สารบัญภาพ
แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยส่วนเนื้อหา
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญ
ตรงประเด็น
ใช้ข้อมูลอ้างอิง
เข้าใจง่าย
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.4 สมมุติฐานการวิจัย
1.5 ขอบเขตการวิจัย
1.6 นิยายคำศัพท์เฉพาะ
1.7 กรอบแนวคิด
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
บทที่ 4 ผลการวิจัย
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยส่วนท้าย
บรรณานุกรม
1.1 บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทย
1.2 บรรณานุกรมหนังสือภาษาอังกฤษ
1.3 บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์
1.4 บรรณานุกรมบทความจากหนังสือ
1.5 บรรณานุกรมบทความจากวารสาร
1.6 บรรณานุกรมคอลัมน์จากวารสาร
1.7 บรรณานุกรมคอลัมน์จากหนังสือพิมพ์
1.8 บรรณานุกรมโสตทัศนวัสดุ
1.9 บรรณานุกรมสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
การเขียนภาคผนวก
การเขียนประวัติผู้วิจัย
นางสาวณิชากร วิทยาเรืองศรี 611120406
คณะครุศาสตร์ โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป