Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 ศาสนาที่เกี่ยวข้องกับสังคมไทย - Coggle Diagram
บทที่ 7 ศาสนาที่เกี่ยวข้องกับสังคมไทย
ศาสนาคือ
• หลักคำสอนที่ยึดเหนี่ยวทางใจมนุษย์
• ซึ่งสอนให้มนุษย์ปฏิบัติตามและงดเว้นบางอย่าง
• เพื่อให้ดำเนินชีวิตรอดพ้นจากความทุกข์และประสบความสุขมากขึ้น
องค์ประกอบของศาสนา
• ศาสดา
• คัมภีร์
• นักบวช
• ศาสนสถาน
• พิธีกรรม
มูลเหตุของการเกิดศาสนา
ศาสนาเกิดจากความไม่รู้(อวิชชา)
ศาสนาเกิดจากความกลัว
ศาสนาเกิดจากความต้องการที่พึ่งทางใจ
ศาสนาเกิดจากความต้องการความสงบสุขในสังคม
ศาสนาเกิดจากความเลื่อมใสศรัทธาและจงรักภักดีในสิ่งศักดิ์สิทธิ์
มูลเหตุที่สำคัญสุดที่ทำให้เกิดศาสนา คือ ความกลัว
ความเชื่อเกี่ยวกับพระเจ้า มี 3แบบคือ
• ศาสนาที่นับถือพระเจ้าหรือเทวนิยม
เอกเทวนิยม คือพระเจ้าองค์เดียว อย่างศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม
พหุเทวนิยม คือ พระเจ้าหลายองค์อย่าง ศาสนาพราหมณ์–ฮินดู
• ศาสนาที่ไม่นับถือพระเจ้าหรืออเทวนิยม อย่างศาสนาพุทธ ที่สอนให้ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
ประโยชน์ของศาสนา
สอนให้เป็นคนดี
ทำให้ผู้ปฏิบัติพ้นจากความทุกข์
ช่วยให้สังคมมีความสุข
ช่วยให้หมู่คณะช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
ช่วยให้เกิดความเจริญก้าวหน้าในชีวิต
ความแตกต่างระหว่างลัทธิกับศาสนา
ลัทธิเป็นสิ่งที่คดิข้นึเพื่อประโยชน์สุขของบุคคลเฉพาะกลุ่ม
ลัทธิไม่มีหลักการที่เป็นคำสอน
ลัทธิมีคำสอนแต่ไม่มีลักษณะของความศักดิ์สิทธิ์
ลัทธิเน้นจุดหมายสูงสุดในเชิงรูปธรรมแตกต่างกับศาสนาที่เน้น ทั้งรูปธรรมและนามธรรมในจิตใจ
ลัทธิไม่มีสถาบันทำหน้าที่ถ่ายทอดคำสอน
ลัทธิอาจมีพิธีกรรมหรือไม่ก็ได้ แต่ศาสนาต้องมีพิธีกรรม
ลัทธิ เป็นคำสั่งสอนที่มีผู้เชื่อถือมีอิทธิพลในการดำเนินชีวิตของคนได้
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์ มี 2 ประเภท
1.คัมภีร์ศรุติ เป็นคัมภีร์ที่มาจากการรับฟังจากโอษฐ์ของพระเจ้า
2.คัมภีร์สมฤติ เป็นคัมภีร์ที่มนุษย์สร้างขึ้นและจดจำถ่ายทอดสืบต่อมา
หลักธรรมพื้นฐาน หลักอาศรม หมายถึงขั้นตอนของชีวิตในการปฏิบัติตนตามวัย ซึ่งมี 4 ขั้น
พรหมจารี วัยแห่งการเล่าเรียนเป็นขั้นที่ 1 ของหลักอาศรมที่สำคัญ
คฤหัสถ์ หรือผู้ครองเรือน
วานปรัสถ์ หรือขั้นสังคมกาล
สันยาสี หรือขั้นวิศวกาล
พิธีกรรม
1.สังสการ
2.พิธีศราทธ์
3.พิธีบูชาเทวดา
หลักธรรมเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายปลายทางของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูคือ “โมกษะ”
ศาสนาพุทธ
ในวันเพ็ญมาฆฤกษ์ทรงแสดงธรรมที่มีชื่อว่า “โอวาทปาติโมกข์” ในวันเพ็ญเดือน 6 คือ การไม่ทำความชั่ว การทำความดีและการทำใจให้บริสุทธ์ิ
หลักธรรมที่สำคัญ
หลักอริยสัจ 4
1.ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายสบายใจ
2.สมุทัย คือเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์
3.นิโรธ คือ ความดับทุกข์(นิพพาน)
4.มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงทางดับทุกข์
หลักไตรลักษณ์ 3 ประการ
อนิจจัง ความไม่เที่ยง
ทุกขัง ความทุกข์
อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง
หลักธรรมเกี่ยวกับจุดม่งุ หมายปลายทางของศาสนาพุทธคือ นิพพาน
ศาสนาคริสต
เป็นศาสนาที่มีคนนับถือมากที่สุดในโลก เป็นศาสนาที่กำเนิดในดินแดนปาเลสไตน
นิกาย
โรมันคาทอลิก
ออร์โธดอกซ์
โปรแตสแตนด์
คัมภีร์
ไบเบิ้ล มีทั้งพระคัมภีร์เก่า, และคริสต์ธรรมใหม
เน้นหลักความรัก
เน้นหลักตรีเอกภาพหรือเอกานุภาพ คืออานุภาพแห่งพระเจ้าท้ัง3
พระบิดา
พระบุตร (หรือพระเยซู)
พระจิต
พิธีกรรมที่สำคัญ เป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ มี 7 ข้อ
พิธีศีลจุ่มหรือพิธีล้างบาปกระทำแก่ทารกหรือเมื่อเริ่มเข้า
เป็นคริสต์ศาสนิกชนโดยถือว่าขั้นตอนแรกของชีวิตที่สำคัญ
พิธีศีลกำลัง
พิธีศีลมหาสนิท
พิธีศีลสมรส
พิธีศีลสารภาพบาป
พิธีเจิมคนไข้
พธิีศีลอนุกรมหรือศีลบวช
หลักธรรมเกี่ยวกับจุดม่งุ หมายปลายทางของศาสนาคริสต์ คือ หลักความรักการได้ไปอยู่ในอาณาจักรของพระเจ้าบนสวรรค์
ศาสนาอิสลาม
หลักศรัทธา 6 ประการ
1.ศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว
2.ศรัทธาในมลาอีกะห์คือทูตสวรรค์หรือเทวทูตของพระเจ้า
3.ศรัทธาในคัมภีร์อัลกูรอาน
4.ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตของพระอัลลอ
5.ศรัทธาในวันพิพากษาหรือวันสิ้นโลก
6.ศรัทธาในกฎกำหนดสภาวการณ์ คือเชื่อว่าชีวิตของเราพระเจ้ากำหนดไว้แล้ว
นิกาย
ซุนนี
ชีอะห์
วาฮะบี
คัมภีร์ของศาสนาอิสลามคืออลักรูอาน
ศาสนาอิสลามถือกำเนิดโดยท่านนบีมูฮัมมัด
ศาสนาอิสลามจะมีหลักปฏิบัติ 5ประการ
การปฏิบัติตน(ยอมรับนบัถือด้วยศรัทธาและความบริสุทธิ์ใจ
การละหมาด
การถือศีลอด
การบริจาคซะกาต
การประกอบพิธีฮัจญ์
หลักธรรมเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายปลายทางของศาสนา
• พราหมณ์-ฮินดูคือการได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพรหม หรือโมกษะ
• พุทธ คือ นิพพาน
• คริสต์ คือ การได้ไปอยู่ในอาณาจักรของพระเจ้าบนสวรรค์
• อิสลาม คือการมุ่งไปอยู่ร่วมกับพระอัลลอบนสวรรค์
สัญลักษณ์
พุทธ
ธรรมจักร :กงล้อแห่งธรรม
พราหมณ์-ฮินดู
โอม หรือย่อมาจาก อะ อุ มะ
อะ คือพระศิวะ
อุ คือพระวิษณุ
มะ คือพระพรหม
คริสต์
ไม้กางเขน
อิสลาม
ไม่มีสัญลักษณ์หรือแต่มีสื่อที่แสดงความคือเป็นมุสลิมคือพระจันทร์เสี้ยว กับดาวเดือนที่เป็นรัศมีแห่งพระอัลเลาะ