Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะรับสัมผัสทาง ตา - Coggle Diagram
อวัยวะรับสัมผัสทาง ตา
การตรวจศรีษะ
การดู
ศรีษะ
: ดูรูปร่าง ขนาดและความสมมาตร
ผม
: ดูการกระจายตัวของเส้นผม ลักษณะความแห้ง ขาด หลุดร่วง หรือมีเหา
หนังศรีษะ
: ดูแผล รังแค ก้อน และความผิดปกติอื่นๆ
การคลำ
ดูความผิดปกติของรูปร่างกะโหลกศรีษะ ดูการยุบ บุ๋ม และอื่นๆ
ต้อหิน (Glaucoma)
สเหตุ :
มีการคั่งของน้ำเอเควียสจากโครงสร้างตาผิดปกติ
มีความผิดปกติแต่กำเนิด
มีความเสื่อมของเนื้อเยื่อภายในลูกตา
การใช้ยาเป็นเวลานาน
มีต้อกระจกสุกหรือสุกงอม
เนื้องอกในลูกตา
อุบัติเหตุทางตา
ชนิดและอาการ
1. ต้อหินปฐมภูมิ
:
ชนิดมุมปิด การระบายน้ำเลี้ยงในลูกตาลดลงทำให้มีแรงกดภายในลูกตา โดยเฉพาะบริเวณขั้วประสาทตา
ชนิดมุมเปิด ท่อตะแกรงที่เป็นทางระบายน้ำเลี้ยงภายในลูกตาลดลง ในขณะที่สร้างน้ำเลี้ยงปริมาณเท่าเดิม ทำให้ความดันในลูกตาสูงขึ้นทีละน้อย
2. ต้อหินทุติยภูมิ
: ความผิดปกติภายในลูกตาหรืออาจเกิดจากมีโรคทางกายที่ทำให้การไหลของเอเควียสลดลง
3. ต้อหินแต่กำเนิด
: เกิดจากมี development anormalies โดยอาจเป็นแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
อาการ
:
ต้อหินระยะเฉียบพลัน ปวดศรีษะ ปวดตามาก สู้แสงไม่ได้ ตามัวบางคนเห็นสีรุ้งรอบดวงไฟ
ต้อหินระยะเรื้อรัง ความดันในลูกตาสูงขึ้น บางรายอาจไม่มีอาการอะไรเลย บางรายอาจมีมึนหัว ตาพร่ามัว เพลียตา แต่ไม่ปวดตา แต่ลานสายตาจะค่อยๆแคบลง
การรักษา
:
ระยะเฉียบพลัน ต้องรีบรักษาเพื่อลดความดันในลูกตาให้ลงสู่ระดับปกติก่อนเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร
ระยะเรื้อรัง รักษาโดยให้ยาหยอดตาและยารับประทาน เพื่อเพิ่มการไหลออกหรือลดการผลิตน้ำเอเควียส ควบคุมความดันลูกตา พร้อมนัดมาตรวจเป็นระยะๆ
การพยาบาล
:
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษา
หากมีอาการ ตาแดง น้ าตาไหล ปวดตามาก ตามัวลง หรือตาสู้แสงไม่ได้ให้มาตรวจก่อนวันนัด
สอนวิธีการหยอดตา
แนะนำให้ใส่แว่น หลีกเลี่ยงการขยี้ตา หลังทำเลเซอร์
การตรวจใบหน้า
การดู
สังเกตความสมมาตรของใบหน้า ตา จมูก ปาก ดูลักษณะของผิวหน้า ดูการบวม รอยโรค ผื่น ตุ่มต่างๆ การแสดงออกของใบหน้า
การตรวจตา
การดู
คิ้ว
: ดูการกระจายตัวของขนคิ้ว ดูผิวหนัง
ลูกตา
: ดูตำแหน่งของลูกตาและเปลือกตา ดูความชุ่มชื้น ความนูนของลูกตา ตรวจดูความปูดโปนของตา ดูการคลุมลูกตาของหนังตา ดูความนุ่มของหนังตา
หนังตา
: ดูว่าบวม ช้ำเป็นก้อนเป็นหนองหรือไม่ เปลือกตาตกหรือเปล่า
ขนตา
: สังเกตว่ามีขนตาม้วนเข้าข้างในลูกตาหรือไม่
รูม่านตาและแก้วตา
: ดูการขยายตัวของรูม่านตา ดูความใสของแก้วตา
ต้อกระจก (Cataract)
สาเหตุ
:
การเสื่อมตามวัย : ต้อกระจกยังไม่สุก,สุกแล้วแต่ผิดปกติ,สุกเกินไป
กรรมพันธุ์
การได้รับการกระทบกระเทือนอย่างแรงที่ลูกตา หรืออุบัติเหตุทางตา
โรคที่มีส่งผลต่อลูกตา
อาการ
: ตามัว มองเห็นภาพซ้อน ความสามารถในการมองเห็นลดลง สายตาสั้นลง มองผ่านรูม่านตาจะเห็นแก้วตาขุ่น
การรักษา
การผ่าตัด : IICE,ECCE,PE C IOL
การพยาบาล
จัดท่านอนให้ผู้ป่วย
หลีกเลี่ยงการไอจามแรง ๆ การก้มศีรษะต่ำกว่าระดับเอว
การเคลื่อนย้ายต้องระมัดระวังการกระทบกระเทือนดวงตาและศรีษะ
รับประทานอาหานอ่อน
ห้ามเบ่งถ่ายอุจาระ
(เมื่อกลับบ้าน)
ระวังอย่าให้น้ำกระเด็นเข้าตา
ค่อยๆแปรงฟันไม่ให้ศรีษะสั่น
หลีกเลี่ยงอาหารแข็งและเหนียว
หลีกเลี่ยงการยกของหนัก
ไม่ควรใช้สายตานานเกิน 1 ชั่วโมง
เน้นกลางคืนปิดฝาครอบตา กลางวันใส่แว่นตาสีชาหรือสีดำ
จอประสาทตาลอก (Retinal Detachment)
สาเหตุ
:
มีการเสื่อมของจอประสาทหรือน้ำวุ้นตา
การผ่าตัดเอาแก้วตาออก
การได้รับอุบัติเหตุถูกกระทบกระเทือนบริเวณที่ตา หรือของแหลมทิ่มแทงเข้าตาถึงชั้นของจอประสาทตา
แบ่งเป็น 3 ชนิด
จอประสาทตาลอกชนิดที่เกิดจากรูหรือรอยฉีกขาดที่จอประสาทตา
จอประสาทตาลอกชนิดที่เกิดจากการดึงรั้ง
จอประสาทตาลอกชนิดไม่มีรูขาดที่จอประสาทตา
อาการ
: มองเห็นแสงจุดดำหรือเส้นลอยไปลอยมา เห็นแสงวูบวาบคล้ายฟ้าแลบ เห็นคล้ายม่านบังตา และตามัว
การรักษา
:
การจี้ด้วยความเย็น
การฉีดก๊าซเข้าไปในตา
การผ่าตัดหนุนจอประสาทตา
การผ่าตัดน้ำวุ้นลูกตา
**การพยาบาล
1.ระยะก่อนผ่าตัด** :
ดูแลผู้ป่วย
แนะนำผู้ป่วยหลีกเลี่ยงขยี้ตา ส่ายศีรษะและใบหน้าแรง การอาเจียน
แนะนำผู้ป่วยห้ามก้มหน้า
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค แผนการรักษา การผ่าตัด ให้ผู้ป่วยทราบเพื่อลดความวิตกกังวล
2.ระยะหลังการผ่าตัด
:
เน้นการประเมินและป้องกันอาการเริ่มต้นของความดันลูกตาสูง
ดูแลให้ได้รับการวัดความดันลูกตาจากแพทย์หลังผ่าตัดประมาณ 4-6 ชั่วโมง
ประเมินอาการเริ่มต้นของภาวะความดันลูกตาสูง
ดูแลให้นอนคว่ าหน้าหรือนั่งคว่ าหน้าให้ได้อย่างน้อยวันละ 16 ชั่วโมง
ควรให้การสนับสนุนด้านกำลังใจและให้ข้อมูลเกี่ยวกับแผนการรักษาเป็นระยะ
ดูแลให้รับประทานอาหารอ่อน
ประเมินอาการท้องผูก
ทำความสะอาดในหน้า
หลีกเลี่ยงการออกก าลังกายที่หักโหม
อุบัติเหตุทางตา EYE injury
อันตรายจากสารเคมี (chemical injury)
ชนิดของสารเคมีที่พบ : สารด่าง,สารกรด,
อาการแสดง :
ปวดแสบปวดร้อนระคายเคืองตามาก
การมองเห็นจะลดลงถ้าสารเคมีเข้าตาจ านวนมาก
สายตาสู้แสงไม่ได้ ทำให้ผู้ป่วยพยายามจะหลับตาตลอดเวลา
การรักษา
ส าคัญที่สุดคือการล้างตาโดยเร็วที่สุดด้วยน้ำสะอาด
โรงพยาบาลจะได้รับการล้างตาให้โดยทันทีโดยอาจต้องมี
การถ่างขยายเปลือกตาแล้วหยอดยาชาก่อนเพื่อให้สามารถล้างตาได้สะดวก
หากเกิดภาวะ corneal abrasion อาจได้รับการป้ายยาและปิดตาแน่น 24 ชั่วโมงและนัดมาประเมินซ้ำอีกครั้ง
การใช้ยาซึ่งขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
ล้างตาให้ผู้ป่วยโดยเร็วที่สุด
ดูแลบรรเทาอาการปวดกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการปวดตามาก และดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาครบตามแผนการรักษา
เลือดออกในช่องม่านตา (Hyphema)
เกิดจากการได้รับบาดเจ็บจากวัตถุไม่มีคมบริเวณตา ท าให้มีการฉีกขาด
ของเส้นเลือดบริเวณม่านตา ท าให้มีเลือดออกในช่องหน้าม่านตา การแบ่งระดับของเลือดที่ออกในช่องหน้าม่านตา แบ่งได้ดังนี้
1. Microscopic
มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
Grade 1 มีเลือดออกน้อยกว่า1/3 ของช่องหน้าม่านตา
Grade 2 มีเลือดออก 1/3 ถึง 1/2 ของช่องหน้าม่านตา
Grade 3 มีเลือดออก 1/2 ถึงเกือบเต็มช่องหน้าม่านตา
Grade 4 มีเลือดออกเต็มช่องหน้าม่านตา
2. ภาวะแทรกซ้อน
ข้อควรระวังดังนี้
Rebleeding
Increase intraocular pressure
Blood stain cornea
การรักษา
ให้นอนศีรษะสูงประมาณ 30-45 องศา
ปิดตาทั้งสองข้างเพื่อให้ได้พักผ่อนลดโอกาสการเกิด rebleeding และให้เลือดได้ดูดซึมกลับ
อาจได้รับยา สเตียรอยด์หยอดเพื่อช่วยป้องกันการเกิด rebleeding
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด paracetamol และ diazepam เพื่อให้ได้พักผ่อนและประเมินอาการปวดตา
เมื่อครบ 5-7 วันก็สามารถให้ผู้กลับบ้านได้
การพยาบาล
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนนิ่งๆ ไม่ควรลุกจากเตียงประมาณ 3 – 5 วัน
ปิดตาทั้ง 2 ข้างที่มีเลือดออกด้วยผ้าปิดตาและที่ครอบตา
เช็ดตาให้ผู้ป่วยทุกวันในตอนเช้าพร้อมทั้งประเมินว่ามีภาวะเลือดออกเพิ่มขึ้นหรือไม่จากการส่องดูด้วยไฟฉาย
ติดตามประเมินอาการปวดตาของผู้ป่วย หลังได้รับยา 30 นาที ไม่ดีขึ้นให้ให้รีบรายงานแพทย์เพื่อประเมินความดันตา
ความผิกปกติของจอประสาทตาจากโลกเบาหวาน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดปกติ
ความยาวนานของการเป็นโรคเบาหวาน
การควบคุมระดับน้ำตาล
การมีความผิดปกติที่ไตจากเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
โรคไขมันในเลือดสูง
การตั้งครรภ์
อาการ
มี 2 ระยะคือ
เบาหวานระยะแรก (Non-Proliferation diabetic
retinopathy=NPDR)
เบาหวานระยะรุนแรง (Proliferation diabetic
retinopathy=PDR)
การรักษา
การรักษาด้วยการยิงเลเซอร์
การฉีดยาเข้าในน้ำวุ้นตา
การผ่าตัดน้ำวุ้นตา
การพยาบาล
แนะนำให้ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลให้คงที่
ดูแลแนะน าให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
ให้ผู้ป่วยออกก าลังกาย รับประทานยาหรือฉีดยาลดระดับน้ำตาลในเลือดอย่างสม่ำเสมอ
แผลที่กระจกตา (Cornwal ulcer)
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อที่กระจกตา
อุบัติเหตุ
กระจกตามีภูมิต้านทานต่อเชื้อโรคต่ำ
มีความผิดปกติของกระจกตา
ตาปิดไม่สนิทขณะหลับ
ความผิดปกติบริเวณหนังตา
โรคทางกายที่ท าให้ภูมิคุ้มกันทั้งร่างกายบกพร่องลง
การใส่เลนส์สัมผัส
อาการ
: ผู้ปวยมีอาการปวดตา เคืองตา กลัวแสง น้ำตาไหล ตาแดงแบบใกล้ตาดำ ตาพร่ามัว กระจกตาขุ่น และพบหนองในช่องม่านตา
การรักษา
หาเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
ก าจัดสาเหตุที่ท าให้เกิดแผลบริเวณกระจกตาที่เป็นสาเหตุอื่น
ส่งเสริมให้เกิดการแข็งแรงของร่างกาย
บรรเทาอาการปวดโดยให้รับประทานยาแก้ปวด
การพยาบาล
แยกเตียง ของใช้ และยาหยอดตาของผู้ป่วยใช้เป็นส่วนตัว
เช็ดตาวันละ 1-2 ครั้ง โดยครอบเฉพาะพลาสติกครอบตา ไม่ต้องปิดผ้าปิดตา
หยอดตาตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะช่วงแรกหยอดทุก 30 นาที
แนะน าผู้ป่วยห้ามขยี้ตา อย่าให้น้ าเข้าตา
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนและได้รับอาหารที่เพียงพอ
ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยสม่ำเสมอ