Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Drugs in Infectious disease - Coggle Diagram
Drugs in Infectious disease
Outlines
• Antibacterial drugs
• Antituberculosis drugs
• Antiviral drugs
• Antimalarial drugs
• Antiparasite drugs
• Antifungal drugs
• Antiseptic and Disinfectant
จุดประสงค์การเรียนรู้
ยาต้านจุลชีพมีหลายกลุ่ม และออกฤทธิ์แตกต่างกันฆ่าเชื้อได้เเตกต่างกัน
ข้อควรระวังหรือการติดตามอาการไม่พึงประสงค์
ของยาต้านจุลชีพ
รายละเอียดบางอย่าง ได้แก่ การบริหารยา อันตรกิริยา และการแพ้ยาข้ามกัน ที่พยาบาลจำเป็นจะต้องทราบ
Spectrum of penicillins
Class
Natural penicillin
Penicillinaseresistant penicillins
Aminopenicillins
Ureidopenicillins
(+beta-lactamase inhibitors)
Aminopenicillin/beta-lactamase
inhibitors combinations
Drug
Penicillin G (benzylpenicillin)
Penicillin G procaine Penicillin
G benzathine Penicillin
V (phenoxymethylpenicillin)
Cloxacillin
Dicloxacillin
Ampicillin
Amoxicillin
Piperacillin/tazobactam
Amoxicillin/clavulanic acid
Ampicillin/sulbactam
Spectrum
Gram-positive cocci: penicillinase-producing aerobes: S.aureus, S.epidermis, Enterococcus
faecalis*, E.coli
Gram-positive streptococci: Group A, B, C, D*,
S.pneumoniae**
Gram-negative staphylococci: N.gonorrhoeae,
N.meningitis
Others: Actinomyces israli, Erysipelothrix,
Treponema pallidum, Clostridium spp.,Peptostreptococcus spp.
Methicillin-sensitive Staphylococcus aureus,
Streptococcus spp
Same coverage as penicillin V Plus Listeria
monocytogenes, Enterococcus spp. Proteusmirabilis, Escherichia coli, Borrelia burgdorferi
Same coverage as aminopenicillins Plus Methicillin-sensitive S.aureus, H.influenza**,
Moraxella catarrhalis Klebsiella spp.
Pseudomonas sppStaphylococci: S.aureus, S.pneumonia
Anaerobes
Adverse drug reactions
Immunologic effect: hypersensitivity responses (the most common) includingskin rash, anaphylaxis, exfoliative dermatitis and Stevens-Johnson syndrome
GI effect: N/V, diarrhea and pseudomembranous colitis
CNS effect: seizures, neuromuscular irritability, confusion, hallucinations, and
paresthesias (Aqueous crystalline Penicillin G, procaine penicillin G)
Hematologic effect: rarely, penicillin G causes hemolytic anemia
Others: superinfections, including candidiasis, are more common in patients
taking broad-spectrum aminopenicillins
GI effect: N/V, abdominal pain, flatulence and diarrhoea (rare;
pseudomembranous enterocolitis)
Immunologic effect: Hypersensitivity reaction, skin reactions
(+/- pruritus), drug fever, angioneurotic edema and anaphylactoid
Hematologic effect: leucopenia, leucocytosis, neutropenia,
thrombocytopenia, thrombocytosis, eosinophilia and anaemia (hypoprothrombinaemia and blood coagulation disorders with NMTT
and MTD cephalosporins)
Hepatic effect: liver function a transient rise in liver enzyme activity
(transaminases and alkaline phosphatase) and of bilirubin concentrations in serum was observed
CNS effects: dizziness and headache (rare; convulsions with certain
high risk constellations)
Others:
6.1 Injection site reaction(IV /IM): pain, burning, and
thrombophlebitis.
6.2 Alcohol intolerance: a disulfiram-like reaction with concomitant
NMTT cephalosporin therapy
Dose & Pharmacokinetics
ยาส่วนใหญ่อาหารมีผล
ต่อการดูดซึมจึงแนะนำกินก่อนอาหาร ยกเว้น
Amoxycillin
ยาขับทางไตควรปรับ
ขนาดยาในคนไตบกพร่องยกเว้น cloxacillin,
dicloxacillin
Structure of cephalosporins
Gen
first
Second
Third
Forth
Drug
Cefazolin
Cephalexin
Cefoxitin
Cefuroxime
Cefuroxime axetil
Cefaclor
Cefotaxime
Ceftriaxon
Ceftazidime
Cefoperazone/sulbactam
Cefinir
Cefixime
Cefodoxime proxetil
Ceftibuten
Cefditoren pivoxil
Cefepime
Cepirome
Strength
Vial 1 g
Capsule 250, 500 mg, syrup 125 mg/5 ml suspension125 mg/5 ml
Vial 1 g
Vial 250 mg, 750 mg, 1.5 g
Tablets 125, 250 ,500 mg
suspension 125 mg/5ml, 250mg/5ml
Capsule 250, 500 mg MR 375 mg Suspension 125 mg/5ml, 250mg/5ml, 375 mg/5 ml, syrup 125 mg/5ml, 250
mg/5 ml
Vial 500 mg, 1 g, 2 g
Vial 250 mg, 500 mg, 1 g, 2 g
Vial 500 mg, 1 g
Vial 1 g(1:1), 1.5 g (2:1)
Capsule 100 mg, suspension 125 mg/5ml
Capsule 100 mg, suspension 100 mg/5ml
Tablet 100 mg, Syrup 40 mg/5ml, forte syrup 80 mg/5ml
Capsule 400 mg, suspension 36 mg/ml
Tablet 100 mg
Vial 1 g
Vial 1 g
Carbapenems
รักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย ในโรงพยาบาล
กลุ่ม Broad spectrum
Meropenem
Meningitis
MDR-pathogen
Imipenem-cilastatin
ระวังการผสมสารน้ำ
โดยหลังผสมครั้งแรกได้สารแขวนตะกอน
จากนั้นเมื่อเจือจางยาเป็นสารละลายใส
Doripenem
การติดเชื้อ
P. aeruginosa ที่ดื้อยา
Ertapenem
ไม่มีฤทธิ์ต่อเชื้อ P. aeruginosa
+NSS เท่านั้น
Biapenem
Stability of Carbapenems
ปัจจุบันมีการสั่งบริหารยา
ใน 3-4 ชั่วโมงเพื่อเพิ่ม
ความสามารถในการฆ่าเชื้อ
ต้องระวังเวลาในการผสมและสารน้ำ เพราะสารน ้าต่าง
ชนิดกัน ความคงตัวของยาต่างกันรวมถึงอุณหภูมิของ
หอผู้ป่วย
การแพ้ยาข้ามกันในกลุ่ม
Beta-lactams
อาจมีการแพ้ยาข้ามกลุ่มกันได้ เนื่องจากมีโครงสร้างบางส่วนคล้ายคลึงกัน คือ Beta-lactam ring
ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยากลุ่ม Penicillins ถ้าแพ้ไม่รุนแรงควรหลีกเลี่ยงยากลุ่ม 1st cephalosporins โดยอาจพิจารณาใช้ยากลุ่ม 3rd
-Cephalosporins, 4
th-cephalosporins ได้ แต่ถ้าแพ้รุนแรงหรือผ่าน Type I hypersensitivity ได้แก่แพ้แบบ Anaphylaxis อาจต้องหลีกเลี่ยงยากลุ่ม Cephalosporins และ Carbapenems ด้วย
ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยากลุ่ม Penicillins ชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะอาการของ Type I hypersensitivity ควรหลีกเลี่ยงยาในกลุ่ม Penicillins ทั้งหมด ยกเว้นผู้ป่วยพบมีประวัติการใช้ยาชนิดนั้นๆ ได้ เช่น แพ้ Pen V แต่มีเคยกินยา anoxycillin ได้ปลอดภัยมาหลายครั้ง
ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ Cephalosporins แบบไม่รุนแรง เช่น ผื่น Maculopapular rash อาจต้องระวังยาที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกัน ได้แก่ แพ้ Ceftriaxone ควรระมัดระวังการใช้ Cefixime เป็นต้น ซึ่งอาจใช้ยาคนละ generation ได้
กลุ่ม Carbapenems มักไม่แพ้ข้ามกัน เช่น แพ้ imipenem มักจะใช้ meropenem และ ertapenem ได้
Fluoroquinolones
• Norfloxacin, Ofloxacin, Ciprofloxacin, Levofloxacin, Moxifloxacin, Sitafloxacin,
Gatifloxacin (ยาตา)
ยับยั้งการสังเคราะห์ DNA ทำให้แบคทีเรียตายออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้ทั้งแบคทีเรียเเกรมบวก แกรมลบ ไม่มีฤทธิ์ต่อ anarobes
รักษา: การติดเชื้อโรคท้องร่วง, การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ, ต่อมลูกหมาก, ปอด, ทางเดินอาหาร, ยาบางตัวใช้รักษาวัณโรค
Side effect: มึนงง ปวดศีรษะ ปวดท้อง ท้องเสีย หัวใจเต้นเร็ว หรือหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก อาจเกิดได้ทั้ง
น้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำ ผื่น ปฏิกิริยาการผื่นแพ้จากการให้ยา (infusion reaction) เอ็นอักเสบ ไม่ควรใช้ในผู้ป่วย G-6-PD และโรค Myasthenia gravis
ยากิน ควรกินห่างนม ยาลดกรด ธาตุเหล็ก แคลเซียม อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
ยาฉีด เป็นรูปแบบพร้อมใช้ ควรบริหารยาตามเวลาที่เอกสารก ากับยาก าหนด
ยาสามารถตีหรือเกิดอันตรกิริยากับยาอื่นได้ เช่น warfarin, amiodarone เป็นต้น
Aminoglycosides
Amikacin, Streptomycin, Gentamicin, Netilmicin, Neomycin, Kanamycin
จับกับ Ribosomes 30s ของแบคทีเรีย รบกวนสร้างโปรตีน ออกฤทธิ์เด่นต่อเเบคทีเรียแกรมลบ เสริมฤทธิ์กับยาอื่นเพื่อฆ่าเชื้อเเบคทีเรียแกรมบวก
ใช้รักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย, วัณโรค, เสริมฤทธิ์กับกลุ่ม penicillins หรือ vancomycin
สำหรับรักษาการติดเชื้อแบคทีเรียที่เยื่อบุหัวใจ
Side effect: พิษต่อไต, พิษต่อหูทั้งเรื่องการได้ยินและการทรงตัว ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรค Myasthenia gravis
ควรปรับยาในผู้ป่วยที่มีไตบกพร่อง
โรงพยาบาลบางแห่งมีการติดตามระดับยาในเลือดเพื่อประเมินความปลอดภัยเรื่องพิษต่อไต
Macrolides
Drugs
Erythromycin estolate
Erythromycin ethylsuccinate
Erythromycin stearate
Erythromycin topical use
Roxithromycin
Clarithromycin
Azithromycin
Spiramycin
Midecamycin
Dosage form
syrup
capsule
syrup
tablet
solution
gel
tablet
Suspension
Tablet
Tablet (Modified release)
Suspension
Oral powder
Capsule
injection
tablet
tablet
Dose
125 mg/5ml
250 mg/cap
200 mg/5ml
250 mg/tab
2%
4%
100, 150, 300 mg/tab
125 mg/5ml
250, 500 mg/tab
500 mg/tab
200 mg/5ml
100 mg/piece
250 mg/cap
500 mg/vial
1.5 mu/tab
200 mg/tab
Pharmacokinetic property
A: 30-60% except erythromycin estolate (70-80%) roxithromycin (72-80%)
D: Extensive tissue/cellular distribution,
high conc. Alveolar macrophage/PMNlow conc. CSF/aqueous humor
M: inactive metabolite by hepatic except clarithromycin (14-OHclarithromycin)
E: hepatic except clarithromycin
Drug interaction
Extensive inhibitors: erythromycin
Moderate inhibitors: clarithromycin, midecamycin and
roxithromycin
Not inhibitors: azithromycin and spiramycin
Other mechanism of interaction: p-glycoprotein, gastric emptying timechage, normal flora killing effect etc.
ADR
Gastrointestinal Effects
- Diarrhea (2-20%) , pseudomembranous colitis (0.01-10%) - Nausea, vomiting, abdominal cramps, metallic taste
Other Effects
High IV doses can lead to neuromuscular blockade like AMGs
Hypersensitivity reactions like rashes, stomatitis and urticaria
Skin rashes (~10%) may be more common in HIV patients
• Rare effects include exudative erythema multiforme (SJS), reversible elevation of AST and
ALT, granulocytopenia, thrombocytopenia, and anaphylactic reactions
Local thrombophlebitis may follow IV administration of the drug
Tetracyclines
Tetracycline, Doxycycline, Minocycline, Tigecycline - ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรียออกฤทธิ์ได้ทั้งเเบคทีเรียแกรมบวก แกรมลบ มีฤทธิ์ต่อเชื้อ Plasmodium falciparum, atypical pathogen, anarobes
ใช้รักษาสิว การติดเชื้อที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป็นต้น
รูปแบบยา: Tetracycline, Doxycycline, Minocycline รูปแบบยากิน ส่วน Tigecycline รูปแบบยาฉีด
Side effect: คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย พิษต่อตับ ผื่นไวต่อแสง ยาฉีดอาจท าให้เกิดหลอดเลือดดำอักเสบ
ยากิน ควรกินห่างนม ยาลดกรด ธาตุเหล็ก แคลเซียม 2 ชั่วโมง
• Tetracycline ไม่ควรใช้ในหญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 และเด็กต่ำกว่า 8 ปี เพราะมีผลต่อการเจริญของ
กระดูกและฟัน สะสมยา ทำให้ฟันเหลือง/น้ำตาล
Co-trimoxazole(Sulfamethoxazole/trimethoprim)
ยับยั้งการสร้างกรดโฟลิกของเชื้อ ซึ่งจ าเป็นต่อการเจริญของแบคทีเรีย ครอบคลุมแกรมบวกและแกรมลบ มีฤทธิ์ต่อเชื้อ Pneumocystis jiroveciiและToxoplasmagondii เป็นต้น
ยาฉีดควรผสมสารน ้า 1 amp (400/80) ต่อสารน ้า D5W 75-125 ml หากผสมสารน ้าปริมาณ
น้อย อาจส่งผลให้ยาตกตะกอน และควรบริหารยานาน 90 นาที
ระวังการใช้ยาในผู้ป่วย G-6-PD, ปรับยาในผู้ป่วยที่มีไตบกพร่อง
Side effect: ปวดหัว เวียนหัว มึนงง ชัก ผื่นแพ้ เกิดได้หลายรูปแบบ เช่น MP rash, Fixed
drug eruption หรือรุนแรง DRESS หรือ SJS/TEN, กดการท างานของไขกระดูก, K สูง, พิษต่อไต/ตับ
การแพ้ยาชนิดนี้ต้องหลีกเลี่ยงการใช้ยาซัลฟากลุ่มยาปฏิชีวนะ ส่วนยาที่มีโครงสร้างซัลฟาอื่นๆ
เป็นข้อควรระวัง นอกจากนี้ต้องระวังการใช้ยา Dapsone ด้วย
Colistin
ออกฤทธิ์ทำลายเชื้อ (bactericidal) โดยจับกับเยื่อหุ้มเซลล์ของแบคทีเรีย แล้วยาไปแย่งจับและขับ
แคลเซียม และแมกนีเซียมของเชื้อ ท าให้เยื่อหุ้มเซลล์รั่ว และแบคทีเรียตายในที่สุด
ออกฤทธิ์ต่อเเบคทีเรียแกรมลบ โดยเฉพาะเชื้อดื้อยา A.baumannii, Carbapenem-resistant
Enterobacteriaceae (CRE)
รูปแบบยาฉีด โดยควรบริหารยา 30 นาที ไม่ควรเกิน 1 ชั่วโมง อาจมีการประยุกต์น าไปใช้เป็น
รูปแบบยาพ่นเพื่อรักษาปอดติดเชื้อ
Side effect: พิษต่อไตสูง จนอาจท าให้ไตพิการถาวร, พิษต่อระบบประสาทส่วนกลาง ชารอบๆปาก เดินเซอาจมีฤทธิ์ทำให้ หัวใจหยุดทำงาน , เมื่อน าไปเป็นยาพ่นอาจท าให้เกิดหลอดลมหดเกร็ง
(bronchospasm)
Fosfomycin
ยับยั้งการสร้างผนังของแบคทีเรีย ออกฤทธิ์ได้ดีทั้งเเกรมบวกและแกรมลบ โดยขนาดยาอาจมีความแตกต่างกันในการใช้รักษาแบคทีเรียแต่ละชนิด
Side effect: ค่าเอนไซม์การท างานตับสูง ผื่นแดง ระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร
ยารูปแบบฉีดอาจท าให้เกิด Na สูงควรติดตาม Na ในเลือดของผู้ป่วยเสมอๆ
ยารูปแบบยากิน มักใช้รักษาโรคทางเดินปัสสาวะอักเสบแบบไม่ซ ้าซ้อน โดยกินยา 3 กรัม
ผสมน ้าเปล่า ตอนท้องว่าง หลังปัสสาวะช่วงก่อนนอน กินเพียงครั้งเดียว อย่างไรก็ตามปัจจุบันอาจน ามาใช้หลากหลายขึ้นกับข้อบ่งใช้ที่แพทย์ต้องการ
ยาฉีด สามารถผสมได้ทั้ง D5W และ NSS ขนาดยา 2 กรัม เจือจางในสารละลายปริมาตร
100 มล. บริหารยาใน 0.5-1 ชั่วโมง
Metronidazole
ใช้รักษาทั้งเชื้อแบคทีเรียทั้งแกรมบวก แกรมลบ
โดยเฉพาะชนิดไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobes)รักษาการติดเชื้อ C. difficile และโรคบิดมีตัวทั้งใน
และนอกล าไส้นอกจากนี้ยามีฤทธิ์ต่อเชื้อ Trichomonas vaginalis
Precaution
CNS disease
Hepatic impairment: Child pugh C – reduce dose by 50%
Renal impairment
Superinfection
History with blood dyscrasias
Ethanol use (disulfiram-like-reaction)
Vancomycin
Glycopeptide antibiotics
Mechanism of action
Inhibits bacterial cell wall synthesis by
binding to D-alanyl-D-alanine precursor thereby blocking peptidoglycanpolymerization
Antimicrobial activity
Against gram-positive bacteria including
Methicillin-resistant Staphylococcus aureus
(MRSA)
Enterococcus spp. (bacteriostatic)
Absorption
: bioavailability
< 5% (normal renal function and intact bowel)
Distribution
One, two or three-compartment model
Volume of distribution (Vd): 0.6 – 1 L/kg
Protein binding: 30-60 %
Metabolism/Elimination
Half-life: 3- 13.3 hours (normal renal function)
Excretion
Renal clearance: 60-85%
Glomerular filtration, tubular
secretionNon-renal clearance: 5-20%
Anti-Tuberculosis ยาต้านวัณโรค
•สูตรมาตรฐาน IRZE
ยาอื่นๆ ที่อาจจะใช้ได้แก่ streptomycin, amikacin, ofloxacin, levofloxacin
สูตรอื่นๆ อาจปรับเปลี่ยนเมื่อมีการแพ้ยาหรือดื้อยา ได้แก่ Ethionamide
(Eo), Cycloserine (Cs), Aminosalicylate sodium หรือPara-aminosalicylate (PAS)
Antiviral drug ยาต้านไวรัส
Anti-retroviral ยาส าหรับรักษาผู้ป่ วยติดเชื้อ HIV ซึ่งสูตรยาส่วนใหญ่จะแนะน าเป็นยา 3 ชนิด
Anti-viral ยาส าหรับรักษาผู้ป่ วยติดเชื้อไวรัส ได้แก่ ไวรัสโรคเริม ไวรัสไข้หวัดใหญ่ ไวรัสตับอักเสบบีหรือซี
เป็นต้น
Dolutegravir (DTG)
กลุ่ม integrase inhibitors (INIs) หรือ integrase strand transfer inhibitors (INSTIs) ออกฤทธิ์ยับยั้ง integrase เป็นเอนไซม์ที่ไวรัสเอชไอวีใช้ในการแทรกดีเอ็นเอเข้าไปในดีเอ็นเอนของเซลล์ CD4 ของโฮสต์
โดย DTG เป็นยาต้านไวรัสที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อเอชไอวี กินวันละครั้ง และต้านทานการดื้อยาได้ดี ยาดังกล่าวเป็นที่ยอมรับ
กันมากขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันแนวทางการรักษาแนะนำใช้เป็นยาสูตรแรกในการรักษาเอชไอวีได้
ข้อห้ามใช้:
มีประวัติแพ้ DTG หรือได้รับยา dofetilide หรือ pilsicainide
(ยาต้านโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ class III)
อาการข้างเคียง
นอนไม่หลับ การนอนหลับผิดปกติ
อาการในระบบทางเดินอาหาร และอาการทางระบบประสาท เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า
คำแนะนำพิเศษสำหรับ Amphotericin B
Polyenes: Amphotericin B (AMB), Liposomal amphotericin B (L-AmB)
การผสมยา: D5W** เท่านั้น AMB (conc. 0.1 mg/ml drip 4-6 hr), L-AmB (conc. 2 mg/ml drip 2-4 hr)
ยาอาจทำให้เกิดไข้ หนาวสั่น (Infusion reaction) ระหว่างหรือหลังให้ยา ดังนั้นควรติดตามอาการผู้ป่วยขณะให้ยา ซึ่งแพทย์มักสั่งยาป้องกัน (pre-medication) ได้แก่ CPM or diphenhydramine,
paracetamol, หรือ hydrocortisone ก่อนการให้ยาเพื่อลดอาการ
ยามีความเป็นพิษต่อไตสูง แพทย์อาจสั่ง NSS ให้ drip ก่อนและหลังให้ยา เพื่อป้องกันพิษจาก
ยาสามารถทำให้เกิด K, Mg ในเลือดต่ำ, โลหิตจาง
ระวังการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ ควรติดตามเส้นเลือดให้ยาสม่ำเสมอ
Antimalarial drugs ยาต้านมาลาเรีย
Artesunate
ใช้กรณีที่คิดว่าเป็น P. falciparum หรือ ภาวะมาลาเรียรุนแรง ยามีทั้งรูปแบบกินและฉีด
รูปแบบฉีด: Artesunete + 5% sodium bicarbonate 1 ml จากนั้นกรณี IV ให้เติม NSS หรือ D5W 5 ml ส่วน IM ให้เติม NSS หรือ D5W 2 ml ใช้ประมาณเกือบ 1 สัปดาห์หรือจนกว่าผู้ป่วยกินยาเม็ดได้
Mefloquine
มักใช้คู่กับ Artesunate
Chloroquine
เป็นยาขนานแรก กรณีรู้ชนิดมาลาเรีย non-falciparum (P. vivax, P. ovale, P. malariae,P. knowlesi)
Primaquine
มักใช้ต่อจาก Chloroquine ถ้าติดเชื้อ P. vivax, P. ovale ชนิดไม่รุนแรง
Quinine
มักใช้เป็นยาขนานที่สอง
ยากลุ่มนี้ต้องระวังการใช้ในผู้ป่วย G-6-PD โดยควรแนะน าการกินให้ดี เนื่องจากบางชนิดใช้ทั้งป้องกันต้องกินก่อนการเดินทาง เป็นต้น
Antiparasite drugs ยารักษาการติดเชื้อพยาธ
พยาธิตัวกลม ได้แก่ ปากขอ ตัวกลม เส้นด้าย : Albendazole, Mebendazole
พยาธิตัวตืด เช่น ตืดหมู ตืดวัว: Niclosamide (ไม่มีฤทธิ์ต่อไข่พยาธิ ดังนั้นต้องกินยาระบาย), Praziquentel
พยาธิใบไม้ในตับ: Praziquentel
พยาธิ Strongyloids: Ivermectin, Albendazole
Antiseptic and Disinfectants
น้ำยาฆ่าเชื้อ เป็นชื่อเรียกสารเคมีที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ ปลอดเชื้อ หรือระงับเชื้อ ซงจะระบุที่ฉลากของผลิตภัณฑ์ว่ามีฤทธิ์ระดับได้เเก่
Antiseptics
หมายถึง สารเคมีที่ใช้ท าลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ใช้กับภายนอกของ
ร่างกายสิ่งมีชีวิตโดยไม่ท าอันตรายต่อเนื้อเยื่อเหล่านั้น
Disinfectant
หมายถึง สารเคมีที่ใช้ท าลายจุลินทรีย์ที่ท าให้เกิดโรคและใช้กับสิ่งไม่มีชีวิตเช่น เครื่องมือและ
สถานที่เป็นต้น สารเคมีเหล่านี้จะท าให้เกิดอันตรายต่อผิวหนังและเยื่อเมือกของร่างกายโดยตรง
Germicide หรือ Micromicide
ความหมายใกล้เคียงกับ disinfectant ถ้าเจาะจงเฉพาะเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ
จะระบุเป็น bactericide, fungicide, virucide, sporicide เป็นต้น
Conclusion
ยาฆ่าเชื้อออกฤทธิ์อย่างไร มีอาการข้างเขียงอย่างไร
ขบทบาทของพยาบาลเราเป็นส่วนสำคัญในการดูแลบริบาลผู้ป่วยโดยเฉพาะในส่วน
การบริหารยาให้กับผู้ป่วย ดังนั้นเรื่องยาจึงมีความสำคัญ
หากจดจำรายละเอียดของยาไม่ได้: หนังสือต่างๆ, application ต่างๆ,
Internet (เราต้องเลือกเวปที่น่าเชื่อถือ) หน่วยข้อมูลยาในโรงพยาบาล เป็นต้น