Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทน, 2.การใช้ประโยชน์จากพลังงานลม - Coggle…
การใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทน
3.การใช้ประโยชน์จากพลังงานเเสงอาทิตย์
พลังงานจากดวงอาทิตย์โลกเราจะมีความเย็นจัดถึงอุณหภูมิ-240องศาเซลเซียส ซึ่งพลังงานแสงอาทิตย์เป็นทรัพยากรที่มนุษย์นำมาใช้ในรูปแบบของพลังงานความร้อน
การนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้
เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระเเสไฟฟ้า
เซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจำหน่าย
สำหรับผลิตไฟฟ้า ผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระเเสตรงไฟฟ้ากระเเสสลับ
เซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน
ทำงานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้า เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลม
เซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ
ใช้งานในพื้นที่ชนบทที่ไม่มีระบบสายส่งไฟฟ้า
เทคโนโลยีพลังงานเเสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน
การผลิตน้ำร้อนชนิดใช้ปั๊มน้ำหมุนเวียน
การผลิตน้ำร้อนชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ
การผลิตน้ำร้อนชนิดผสมผสาน
เทคโนโลยีการอบแห้งด้วยแสงอาทิตย์
การอบแห้งระบบ
มีเครื่องช่วยให้อากาศไหลเวียนในทิศทางที่ต้องการ
การอบแห้งระบบ
การอบแห้งที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์และยังต้องอาศัยพลังงานในรูปแบบอื่นๆ
การอบแห้งระบบ
ตู้อบแห้งแบบได้รับแสงอาทิตย์โดยตรง
ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสม
เครื่องตากเเห้งโดยธรรมชาติ
5.การใช้ประโยชน์จากพลังงานขยะ
พลังงานที่ได้จากขยะมาจากบ้านเรือน ชุมชน ตลอดจนภาคอุตสาหกรรม และการเกษตรกรรมต่างๆ โดยขยะส่วนใหญ่ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการผลิตเป็นพลังงานทดแทน มักจะเป็นพวกชีวมวล เช่น กระดาษ เศษไม้เศษอาหาร เป็นต้น
การแปรรูปขยะมูลฝอยไปเป็นพลังงานความร้อนโดยใช้เตา
ก่อนที่จะส่งออกสู่บรรยากาศขี้เถ้าซึ่งเหลือจากการเผาไหม้ ซึ่งมีปริมาตรประมาณ 10% และน้ำหนักประมาณ 25ถึง30%ของขยะที่ส่งเข้าเตามาจะถูกฝังกลบหรือใช้เป็นวัสดุปูพื้นสำหรับการสร้างถนน
เทคโนโลยีเตาเผาขยะมูลผอย
การเผาไหม้มวล
การเผาไหม้ขยะมูลฝอยที่มีองค์ประกอบที่หลากหลาย โดยไม่ต้องมีการจัดการเบื้องต้นก่อน เทโนโลยีนี้ปกติเป็นการเผาไหม้ในเตาเผาแบบตะกรับที่เคลื่อนที่ได้ ซึ่งใช้กันอย่างเเพร่หลาย
ระบบที่มีการจัดขยะเบื้องต้น
ก่อนทำการเผาต้องมีระบบเพื่อลดขนาด การตัดบด และการคัดเเยกหรือในบางครั้งอาจมีระบบการผลิตเชื้อเพลิงจากขยะ
เทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิง
เป็นกระบวนการทำให้ขยะเป็นก๊าซโดยการทำปฏิกิริยาสันดาปแบบไม่สมบูรณ์ คือ สารอินทรีย์ในขยะจะทำปฏิกิริยากับอากาศหรืออ๊อกซิเจนปริมาณจำกัด
กระบวนการผลิตก๊าซเชื้อเพลิง
การผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากเชื้อเพลิงเเข็ง ประกอบไปด้วยกระบวนการสลายตัวและกระบวนการกลั่นสลายของโมเลกุลสารอินทรีย์ในขยะที่อุณหภูมิสูงประมาณ1,200-1,400องศาเซลเซียส ในบรรยากาศที่ควบคุมปริมาณออกซิเจน ขยะจะสลายตัวด้วยความร้อนเกิดเป็นการระเหย
6.การใช้ประโยชน์จากพลังงานความร้อนใต้พิภพ
น้ำที่อยู่ใต้ใช้ดินหรือชั้นบาดาลมีความร้อนกว่าน้ำบนผิวดิน โดยความร้อนใต้พิภพนั้นถือเป็นทรัพยากรพลังงานที่ปรากฏให้เห็นในรูปของ บ่อน้ำร้อน น้ำพุร้อน ไอน้ำร้อนหรือโคลนเดือด
เเหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ
แหล่งที่เป็นแหล่งไอน้ำเป็นส่วนใหญ่
เป็นแหล่งกักเก็บความร้อนประกอบด้วยไอน้ำมากกว่าร้อยละ 25%โดยทั่วไปมักจะเป็นแหล่งที่ใกล้กับหินหลอมเหลวร้อนที่อยู่ตื้นๆ
เเหล่งหินร้อนแห้ง
เป็นแหล่งสะสมความร้อนที่เป็นหินเนื้อแน่น เเต่ไม่มีน้ำร้อนหรือไอน้ำไหลหมุนเวียนอยู่ ดังนั้นถ้าจะนำมาใช้จำเป็นต้องอัดน้ำเย็นลงไปทางหลุมเจาะ ให้น้ำได้รับความร้อนจากหินร้อน
เเหล่งที่เป็นน้ำร้อนส่วนใหญ่
เป็นแหล่งกักเก็บสะสมความร้อนที่ประกอบด้วยน้ำร้อนเป็นส่วนใหญ่ อุณหภูมิน้ำร้อนจะมีตั้งเเต่ 100องศาเซลเซียสขึ้นไป
ประโยชน์ของพลังงานความร้อนใต้พิภพ
ประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม
หากน้ำจากเเหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพมีปริมาณเเร่ธาตุละลายอยู่ในปริมาณที่สูง จะมีผลกระทบต่อระบบน้ำบาดาล
อาจมีก๊าซประเภทที่ไม่รวมตัว เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟต์และก๊าซอื่นๆมีปริมาณสูงอยู่ที่แหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ ซึ่งหากหายใจเข้าไปอาจทำให้ระบบการหายใจขัดข้องได้
ด้านเศรษฐกิจ
การใช้พลังงานความร้อนใต้พิภพมีต้นทุนต่ำกว่าใช้ถ่านหินและน้ำมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่่งในการผลิตไฟฟ้า จึงทำให้หลายประเทศให้ความสนใจต่อการเเสวงหาเเหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพมาใช้ประโยชน์
4.การใช้ประโยชน์จากพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลเป็นพลังงานที่ได้จากมวลสารในสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ เมื่อนำมูลสัตว์ของเสียมาหมักทำให้เกิดก๊าซมีเทนกรือก๊าซชีวภาพ โดยมาเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพนอกจากนี้เศษวัสดุทางการเกษตรที่เหลือทิ้ง อาทิ อ้อย มันสำปะหลัง
ประเภทของชีวมวล
ชีวมวลจากมูลสัตว์
ชีวมวลที่เกิดขึ้นจากของเสียทางการเกษตร
ชีวมวลที่เกิดจากการเพาะปลูก
ชีวมวลที่เกิดขึ้นหลังการเกิดไฟใหม้ป่า
ชีวมวลที่เกิดขึ้นในป่าและอุตสาหกรรมป่าไม้
ชีวมวลจากขยะชุมชน
เชื้อเพลิงชีวมวลสำหรับยานยนต์
เชื้อเพลิงชีวมวลสำหรับยานยนต์ โดยยานยนต์จะใช้น้ำมันอยู่ 2 ชนิดหลักด้วยกัน คือ น้ำมันเบนซิล และน้ำมันเบนซิล
เอทานอล(Ethanol)
วัตถุดิบประเภทแป้ง เช่น มันสำปะหลัง ธัญพืช
วัตถุดิบประเภทน้ำตาล เช่น น้ำตาลจากบีท น้ำอ้อย
วัตถุดิบประเภทที่เป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรม เช่น กากอ้อย ฟางข้าวและมันสำปะหลัง
ไบโอดีเซล(Biodiesel)
การนำเชื้อเพลิงเหลวที่ได้ผลิตได้จากน้ำมันพืชและไขมันสัตว์ เช่น น้ำมันปาล์มดิบ น้ำมันปาล์มกึ่งบริสุทธิ์ สเตียรีน นำมาทำปฎิกิริยาทางเคมีที่เรียกว่า "ปฎิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชั่น"
1.การใช้ประโยชน์จากพลังงานน้ำ
เป็นทรัพยากรที่เก็บสะสมพลังงานในรูปแบบพลังงานศักย์โน้มถ่วง เมื่อเคลื่อนที่จะเปลี่ยนพลังงานจลน์ไปหมุนกังหันน้ำให้พลังงานกล
พลังงานจากน้ำตก
เกิดจากการเปลี่ยนพลังงานศักย์ของน้ำซึ่งอยู่ในแหล่งที่อยู่สูงกว่าระดับอ้างอิงให้กลายเป็นพลังงานจลย์ในรูปแบบน้ำตก
พลังงานน้ำขึ้น น้ำลง
การเก็บน้ำไว้ในอ่างกักเก็บน้ำโดยเฉพาะในเวลาน้ำขึ้น พอถึงเวลาน้ำลงก็จะใช้กังหันน้ำไปตั้งที่ปากอ่างของอ่างเก็บน้ำเพื่อที่จะให้น้ำได้ไหลลงมาสู้กังหันน้ำ
พลังงานคลื่น
เกิดจากการที่มีลมพัดผ่านพื้นผิวของทะเลหรือมหาสมุทร ขนาดของเคลื่อนที่เกิดขึ้นจะขึ้นอยู่กับความเร็วลมที่พัดผ่านบริเวณนั้น
ประเภทของโรงไฟฟ้าพลังงานจากน้ำ
โรงไฟฟ้าพลังงานน้ำแบบน้ำไหลผ่านตลอดปี(Run-of-the-river)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับ(Pumped-Storage)
โรงไฟฟ้าพลังงานน้ำจากอ่างเก็บน้ำ(Conventional)
ปัจจุบันทรัพยากรลมถือว่าเป็นทรัพยากรลมถือเป็นทรัพยากรพลังงานจลน์ที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศ 2 บริเวณที่มีอุณหภูมิแตกต่างกัน
ประเภทของกังหันลม
กังหันลมแนวนอน
มีแกนหมุนขนานกับทิศทางลม โดยมีใบพัดเป็นตัวตั้งฉากรับเเรงลม
กังกันลมแนวแกนตั้ง
มีเเกนหมุนและใบพัดตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของลมในเเนวราบซึ่งทำให้สามารถรับลมในแนวราบได้ทุกทิศทาง
2.การใช้ประโยชน์จากพลังงานลม