Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
ตา
ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ
1.ชั้นนอก เป็นชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ประกอบด้วย เปลือกลูกตา กระจกตา
2.ชั้นกลาง มีหลอดเลือดจำนวนมาก ประกอบด้วย ม่านตา ciliary body choriod
3.ชั้นใน ประกอบด้วย จอประสาทตา แก้วตา วุ้นตา
การตรวจตา
ลูกตา ดูตำแหน่งของลูกตา ความนููนของลูกตา ขอบของเปลือกตาบนจะคุมรอยต่อของตาดำและตาขาว
ภาวะตาโปน ถ้ามีจะพบภาวะขอบตาบนไม่คลุมขอบตาดำ
คลำ
ลูกตา ประเมินความนุ่มโดยใช้ปลายนิ้วชี้และนิ้วกลางคลำเนื้อเปลือกตาทั้งสองข้าง
หนังตา ดูการบวม ช้ำเป็นก้อนเป็นหนองหรือไม่ การดึงรั้งของหนังตา เปลือกตาตกหรือไม่
ขนตา มีม้วนเข้าข้างในหรือไม่
รูม่านตาและแก้วตา ใช้ไฟฉายส่องสังเกตความกลมและความสมมาตรกันทั้งสองข้างของรูม่านตา
โรค
ต้อหิน มีความดันในลูกตา มีขั้วตาผิดปกติและสูญเสียลานสายตา ร่วมด้วย
1.ต้อหินปฐมภูมิ -ชนิดมุมปิด -ชนิดมุมเปิด
2.ต้อหินทุติยภูมิ เกิดจากความผิดปกติภายในลูกตาหรือเกิดจากโรคทางกาย
3.ต้อหินแต่กำเนิด เกิดจากการมี development anormalies
การพยาบาล
-อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับโรค -การเตรียมตัวก่อนการยิงเลเซอร์ -มีอาการผิดปกติให้มาตรวจก่อนวันนัด -สอนวิธีหยอดยาอย่างมีประสิทิภาพ -แนะนำให้ใส่แว่น หลีกเลี่ยงการขยี้ตาหลังทำเลเซอร์
ต้อกระจก ภาวะแก้วตาขุ่น เนื่องจากโปรตีนภายในแก้วตาเกิดการเปลี่ยนแปลง
การรักษา โดยการผ่าตัด มี 3 วิธี 1.Intracapsular cataract extraction 2.Extracapsular cataract extraction 3.Phacoemulsification with Intraocular Lens
การพยาบาล
-อย่าให้น้ำเข้าตา -ค่อยๆแปรงฟัน -หลีกเลี่ยงอาหารแข็ง -หลีกเลี่ยงการยกของหนัก -ไม่ควรใช้สายตานานเกิน 1 ชั่วโมง -กลางคืนปิดฝาครอบตา กลางวันใส่แว่นสีชาหรือดำ
จอประสาทตาลอก ภาวะที่จอประสาทตาด้านในลอยตัวหรือแยกตัวออกจากจอประสาทตาด้านนอก
1.จอประสาทตาลอกชนิดที่เกิดจากรูหรือรอยฉีกขาดที่จอประสาทตา
จอประสาทตาลอกชนิดที่เกิดจากการดึงรั้ง
3.จอประสาทตาลอกชนิดไม่มีรูขาดที่จอประสาทตา
อุบัติเหตุทางตา
อันตรายจากสารเคมี
เลือดออกในช่องหน้าม่านตา
ความผิดปกติของจอประสาทตาจากโรคเบาหวาน
การพยาบาล -ให้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด -ให้ตรวจจอประสาทตาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง -ออกกำลังกาย
แผลที่กระจกตา
การพยาบาล -แยกเตียง ของใช้ เป็นของส่วนตัว -เช็ดตาวันละ 1-2 ครั้ง -หยอดตาตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด -แนะนำห้ามขยี้ตา ไม่ให้น้ำเข้าตา -พักผ่อนให้เพียงพอ
หู
1.หูชั้นนอก ประกอบด้วย ใบหู รูหู แก้วหู
2.หูชั้นกลาง เป็นโพรงอากาศที่อยู่ระหว่างแก้วหูกับหูชั้นใน ประกอบด้วยกระดูก 3 ชิ้น ตือ กระดูกค้อน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน
3.หูชั้นใน เป็นที่อยู่ของอวัยวะรับเสียงและทรงตัว แบ่งออกเป็น Body labyrinth Membranous labyrinth
การตรวจวินิจฉัย
1.ซักประวัติ 5 อาการ -ปวดหู -มีของเหลวไหลจากหู -หูอื้อ -มีเสียงดังในหู -เวียนศรีษะ
2.ตรวจร่างกาย 2.1ตรวจหูภายนอก มองและคลำ 2.2 ตรวจช่องหู 2.3ให้ตรวจศรีษะและคอด้วย 2.4 การตรวจพิเศษ 2.5การนัดตรววจซ้ำเป็นระยะๆ
3.การตรวจพิเศษด้วยเครื่องมือ 3.1ทดสอบการได้ยิน 3.2ตรวจโดยใช้คำพูด
4.การตรวจ Vestibular Function Test 4.1Romberg's test 4.2Unterberger's test 4.3Gait test
5.ตรวจดู Nystagmus
โรค
ขี้หูอุดตัน
สิ่งแปลกปลอมในหูชั้นนอก
เยื่อแก้วหูฉีกขาดเป็นรูทะลุ
โรคหูน้ำหนวก
โรคหินปูนเกาะฐานกระดูกโกลน
การบาดเจ็บจากแรงดันหู
โรคหินปูนในหูชั้นในหลุด โรคเวียนหัวขณะเปลี่ยนท่า
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน
ประสาทหูเสื่อมฉับพลัน
หูตึง
จมูก
โรค
เลือดกำเดา ภาวะที่เลือดออกทางจมูก จากการฉีกขาดของหลอดเลือดที่เยื่อบุจมูก
การพยาบาล -หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนบริเวณจมูก -ควรนอนพักนิ่งๆก่อน 2-3 ชม.
ริดสีดวงจมูก ไม่มีอันตรายร้ายแรง ถ้าก้อนโตจะทำให้หายใจไม่สะดวก
Sinusitis โพรงหรือช่องอากาศที่อยู่ในกระดูกของหน้ามีทางติดต่อกับช่องจมูกเรียกว่ารูเปิดของไซนัส
การพยาบาล -นอนศีรษะสูง 40-45 องศา -ประคบบริเวณจมูกด้วยความเย็น ป้องกันการติดเชื้อ -หลีกเลี่ยงการออกกำลังกาย ยกของหนัก -ไม่ควรไอ จามแรง