Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Sepsis with Heart failure - Coggle Diagram
Case Sepsis with Heart failure
ผลทางห้องปฏิบัติการ 04/01/64
Hb =11.9
Hct=38.4
MCV=86.9
RDW=14.4
WBC=16380
N%=85.3
L% =6.2
Mo=7.8
E=0.5
Plt. 87,000
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
amiodarone
เป็นยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ออกฤทธิ์กับเนื้อเยื่อหัวใจโดยตรง ยับยั้งการกระตุ้นหัวใจ และชะลอการนำกระแสประสาท ช่วยให้จังหวะการเต้นของหัวใจเป็นปกติ
simvastatin
ใช้รักษาภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากไขมันในเลือดสูง และลดความเสี่ยงการเกิดภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือดสมองอุดตัน
lactulose
เป็นน้ำตาลสังเคราะห์ช่วยรักษาอาการท้องผูก เมื่อรับประทานเข้าไปตัวยาจะแตกออกในลำไส้ใหญ่แล้วออกฤทธิ์ด้วยการดึงน้ำจากร่างกายมายังลำไส้ใหญ่ ทำให้อุจจาระนิ่มลงและขับออกมาได้ง่ายขึ้น
lasix
ยาขับปัสสาวะชนิดหนึ่ง มีคุณสมบัติช่วยขับของเหลวส่วนเกินในร่างกายออกมาทางปัสสาวะ และช่วยป้องกันร่างกายไม่ให้ดูดซึมเกลือหรือโซเดียมมากจนเกินไป นอกจากนี้ ยาดังกล่าวยังใช้ลดอาการบวมน้ำซึ่งเป็นหนึ่งในอาการของภาวะหัวใจวาย
cordarone
เป็นยาในกลุ่มยาโรคหัวใจ ในกลุ่มที่ 3 สำหรับรักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
wafarin
ยาต้านการแข็งตัวของเลือดหรือที่เรียกกันว่ายาละลายลิ่มเลือด ใช้เพื่อช่วยลดการแข็งตัวของเลือด ใช้ในการรักษาและป้องกันเลือดอุดตันในเส้นเลือดดำหรือหลอดเลือดแดง
meropenem
ยาปฏิชีวนะ ยาต้านแบคทีเรีย ใช้รักษาหรือป้องกันโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
metoprolol
เป็นยาเบต้า บล็อกเกอร์ (Beta Blocker) ที่มีผลต่อการทำงานของหัวใจและการไหลเวียนโลหิต ถูกนำมาใช้เพื่อป้องกันและรักษาโรคหรืออาการ เช่น ภาวะเจ็บหน้าอกเฉียบพลันจากโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจล้มเหลวและโรคหัวใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงการเกิดเลือดออกง่ายหยุดยากเนื่องจากใช้วาฟารินเป็นเวลานาน
ข้อมูลสนับสนุน
S:-
O:วินิจฉัยโรคว่าเป็น Heart failure - Platelet 87,000 *103/ul - Hold Wafarin
เป้าประสงค์ทางการ
พยาบาล
ไม่มีภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก
เกณฑ์การประเมินผล
-ไม่พบเลือดออกตามไรฟันจ้ำเลือดตามตัว เลือดออกในทางเดินอาหาร เลือดออกทางทวารหนัก อุจจาระมีสีดำ มีจุดจ้ำเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด
กิจกรรมการพยาบาล
และเหตุผล
ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุขณะอยู่บนเตียง แนะนำให้ผู้ป่วยระมัดระวังไม่ให้เกิดแผลขณะที่ไปเข้าห้องน้ำหรืออยู่บนเตียง
ประเมิน I/O หากสูญเสียเลือดจะทำให้เกิดภาวะไม่สมดุลน้ำ จึงต้องประเมิน I/O อีกทั้งผู้ป่วยรายนี้มีโรคไตเรื้อรังด้วย
สังเกตอาการของภาวะเลือดออก ได้แก่ เลือดออกตามไรฟันจ้ำเลือดตามตัว เลือดออกในทางเดินอาหาร เลือดออกทางทวารหนัก อุจจาระมีสีดำ มีจุดจ้ำเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด ปวดหัว ซึม ตาพร่ามัวเพื่อประเมินภาวะเลือดออกในผู้ป่วย
ประเมิน Vital sign ทุก 4 ชั่วโมง ได้แก่ BT PR BP RR ว่าอยู่ในค่าปกติหรือไม่ ซึ่งสามารถบ่งบอกถึงภาวะเลือดออกหรือภาวะช็อคได้
ติดตามผล lab ตามแผนการรักษาเพื่อดูการแข้งตัวของเลือดได้แก่ค่า CBC PT PTT
มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
O:O2=88-89% ผู้ป่วยมีอาการไอ หายใจหอบเหนื่อย มีเสมหะเหนียวข้นสีเขียว On high flow nasal cannula 37 C
S:-
เป้าประสงค์ทางการ
พยาบาล
ไม่เกิดภาวะพร่อง
ออกซิเจน
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น ซึม หายใจสั้นตื้น เหงื่ออก ปีกจมูกบาน ปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียว - มีเสมหะลดลง - หายใจได้ปกติ ไม่มีอาการ หอบเหนื่อย - V/S ปกติ - ฟังเสียงปอดไม่พบเสียงผิดปกติ - O2sat ≥ 95%
กิจกรรมการพยาบาล
และเหตุผล
3.สังเกต และบันทึกลักษณะสีปริมาณของเสมหะทุกครั้ง
หลังดูดเสมหะ
1.ประเมินอาการของผู้ป่วยที่สามารถบ่งบอกถึงภาวะพร่องออกซิเจนเช่น ลักษณะการหายใจเร็ว เหนื่อย มีอาการเขียว capillary refill
2.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยท้าการ suction เพื่อป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจเพิ่มมากขึ้น และทำให้หายใจได้สะดวกมากขึ้น
4.On High flow canula 37 C เนื่องจากผู้ป่วยเหนื่อย มีเสมหะมาก O2sat 88-89 % ให้O2 เพื่อป้องกันภาวะพร่องออกซิเจนสังเกตว่าออกซิเจนออกหรือไม่ สอบถามว่าผู้ป่วยรู้สึกสบายขึ้นหรือไม่หลังได้รับออกซิเจน
5.ประเมิน O2sat หลังให้การพยาบาลแก่ผู้ป่วย เพื่อดูค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนผู้ป่วยเพิ่มหรือไม่ และประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ลักษณะการหายใจเร็ว เหนื่อย มีอาการเขียว capillary refill สอบถามคะแนนความเหนื่อย ว่ามีอาการลดลงหรือไม่และสอบถามความสุขสบายหลังให้ออกซิเจน
วิเคราะห์ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การแลกเปลี่ยนเปลี่ยนก๊าซและ การระบายอากาศไม่ดี เมื่อมี เสมหะคั่งค้างนานๆ ไม่สามารถระบายออกมาได้ จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในทางเดินหายใจโดย เฉพาะที่ปอดหรือเกิดการติด เชื้อซ้ำขึ้นได้ ทำให้ลด ประสิทธิภาพการทำงานของปอด การที่มีพยาธิสภาพที่ปอดจากการติดเชื้อในทางเดินหายใจส่วนบนแล้วลงสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง มักพบว่ามี
เสมหะมากจนเกิดการคั่งค้างหรืออุดกั้นทางเดินหายใจได้ง่าย
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเนื่องจากมีการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
S:จากการสังเกต ผู้ป่วยค่อนข้างตัวใหญ่ ไม่ขยับตัวเนื่องจากไม่มีแรง นอนติดเตียงเป็นเวลานาน
O:ผัวหนังมีลักษณะอับชื้น รอยแดงบริเวณปุ่มกระดูก ทำให้ไม่สามารถเคลื่อนไหวเองได้ น้ำหนัก 97 kg. ส่วนสูง 158 cm. BMI 38.856 Motor power แขนซ้าย-ขวา เกรด 3 ขาซ้าย-ขวา เกรด 2
เป้าประสงค์ทางการ
พยาบาล
เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของแผลกดทับ ผิวหนังแห้งแดงดีไม่มีหนองหรือเนื้อตาย
กิจกรรมการพยาบาล
และเหตุผล
พลิกตะแคงตัวผู้ป่วยกำหนดเวลาการเปลี่ยนท่าพลิกตะแคงอย่างน้อยอย่างสม่ำเสมอทุก 2 ชั่วโมง เพื่อช่วยลดการกดทับและช่วยให้มีการไหลเวียนเลือดได้ดีขึ้น ลดการ ลุกลามของแผลกดทับ และบันทึกลักษณะความผิดปกติของผิวหนัง
ดูแลผิวหนังผู้ป่วยให้สะอาดแห้งไม่อับชื้นเพราะถ้าผิวหนังเปียกชื้นหรือร้อนจะทำให้เกิดแผลเปื่อย ผิวหนังถลอกง่าย โดยเฉพาะภายหลังผู้ป่วยถ่ายอุจจาระหรือ ปัสสาวะแล้วต้องทำความสะอาดแล้วซับให้แห้งและหากสังเกตพบว่าผู้ป่วยมีผิวหนังแห้งแตกเป็นขุยควรดูแลทาครีมหรือโลชั่น
ดูแลใช้ผ้าขวางเตียงรองตัวผู้ป่วยและยกตัวผู้ป่วยด้วย ผ้าขวางเตียงเพื่อป้องกันผิวหนังของผู้ป่วยเสียดสีกับที่นอน เวลาเคลื่อนย้ายผู้ป่วยและให้มีคนช่วยเปลี่ยนท่า หลีกเลี่ยงการลากดึง
ประเมินแผลกดทับโดยใช้ Braden Scale ดูลักษณะของแผลว่าแห้งแดงดีหรือไม่ มีหนอง มีเนื้อตาย เพิ่ม มีกลิ่น และขอบแผลเล็กลงหรือไม่ เพื่อดูการหายของแผล
ข้อมูลส่วนบุคคล
แบบแผนการดำเนินชีวิต
ไม่ดื่มเหล้าไม่สูบบุหรี่ ชอบรับประทานอาหารรสจัด มัน หวาน
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
10 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลมีหายใจเหนื่อยหอบ ปวดท้อง มีไข้ ญาติจึงส่งที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา จากนั้น Refer มาที่โรงพยาบาลชลบุรี ด้วยSepsis Admit 31 ธันวาคม 2564 ด้วยมีอาการหายใจหอบเหนื่อยมากขึ้น มีเสมหะเหนียวข้น On ET Tube โดยคนไข้มี U/D เดิม Nonvalvular AF
ผู้ป่วยหญิงอายุ 75 ปี เตียง 19 สถานภาพสมรส ศาสนาพุทธ อาชีพ แม่ค้า ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 ภูมิลำเนาเดิม จังหวัด ชลบุรี
สัญญาณชีพแรกรับ
BP 117/67
HR 95 bpm
O2=96%
RR 21 bpm
BT 37.6 C
ข้อมูลเพิ่มเติม
มีอาการบวมกดบุ๋ม Pitting Edema 2+ Glasglow coma score E4M6V5 โดยแพทย์สงสัยว่าว่า Pneumonia มี Plan เก็บ scrotum culture ในวันที่ 4 มกราคม 2565