Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบผิวหนัง - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบผิวหนัง
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
เป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนัง
สาเหตุมาจาก
1.พันธุกรรม
2.ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
3.ปัจจัยกระตุ้นภายนอก
ชนิดของสะเก็ดเงิน
ชนิดผื่นหนา (Plaque psoriasis) เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด
รอยโรคเป็นผื่นแดงหนา ขอบเขตชัด ขุยหนาสีขาวหรือสีเงิน
จึงได้ชื่อว่า”โรคสะเก็ดเงิน”
ชนิดผื่นขนาดเล็ก (Guttate psoriasis) รอยโรคเป็นตุ่มแดงเล็ก
คล้ายหยดนํ้า
ชนิดตุ่มหนอง (Pustular psoriasis) รอยโรคเป็นตุ่มหนองกระจายบน
ผิวหนังที่มีการอักเสบแดง
ชนิดผื่นแดงลอกทั่วทั่ ตัว (Erythrodermic psoriasis) เป็นสะเก็ด
เงินชนิด รุนแรง ผิวหนังมีลักษณะแดงและมีขุย
สะเก็ดเงินบริเวณซอกพับ (Inverse psoriasis) เป็นโรคสะเก็ดเงินที่มี
รอยโรคในบริเวณซอกพับของ ร่างกาย ได้แก่ รักแร้ ขาหนีบ และใต้ราว
นม
สะเก็ดเงินบริเวณมือเท้า (Palmoplantar psoriasis) เป็นโรคสะเก็ดเงิน
บริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า
เล็บสะเก็ดเงิน (Psoriatic nails) ผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินมักพบมีความผิดปกติของเล็บ
ข้ออักเสบสะเก็ดเงิน (Psoriatic arthritis) ผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินอาจพบมีความผิดปกติการอักเสบ ของข้อร่วมด้วย
การรักษา
ยาทาคอติโคสเตียรอยด์
น้ำ มันดินเล็กน้อย
แอนทราลิน
อนุพันธ์วิตามิน D
งูสวัด (Shingles)
อาการ
รู้สึกปวดแสบปวดร้อนบริเวณผิวหนังและมีไข้[Link Title])
การรักษา
รักษาตามอาการร่วมกับใช้ยาต้านไวรัสเพื่อเร่งกระบวนการการหายของโรคและป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
Erythema Multiforme
อาการ
ผื่นสีแดงขนาดเล็ก ซึ่งมักเริ่มเกิดบริเวณมือและเท้า ก่อนจะแพร่กระจายไปตามแขน ขา และจะพบได้มากที่สุดบริเวณใบหน้า คอ และลำ ตัว
การรักษา
-รับประทานยากลุ่มต้านฮิสตามีน หรือทาครีมที่มีสารช่วยให้ผิวชุ่มชื้นเพื่อบรรเทาอาการคัน
-รับประทานยาแก้ปวด หรือทำ แผลเพื่อบรรเทาอาการปวดจากการติดเชื้อ
-ทายาสเตียรอยด์เพื่อบรรเทาอาการอักเสบของผิวหนัง
-ใช้น้ำ ยาบ้วนปากที่บรรเทาอาการปวดในช่องปาก
-รับประทานอาหารเหลว หรืออาจให้สารอาหารผ่านทางหลอดเลือดดำหากผู้ป่วยรับประทานอาหารลำ บากจากแผลในช่องปากหรือริมฝีปาก
-รับประทานยาสเตียรอยด์ชนิดเม็ด เพื่อควบคุมการอักเสบ
-ใช้ยาหยอดตา หรือครีมขี้ผึ้ง หากผู้ป่วยมีผื่นขึ้นบริเวณรอบดวงตา
อีสุกอีใส (Chickenpox/Varicella)
อาการ
มีไข้ต่ำ รู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัว เหนื่อยง่าย เฉื่อยชา ปวดศีรษะ เจ็บคอ
การรักษาอีสุกอีใส
ในกลุ่มต้านอักเสบที่ไม่ใช่แอสไพริน (Non-aspirin Medications)
Fasciitis
โรคซิฟิลิสเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อว่า ทริปโปนีมา พัลลิดุม(Treponema Pallidum) จากการสัมผัสถูกเชื้อโดยตรงจากแผลของผู้ป่วยโรคซิฟิลิสแบ่งอาการออกได้เป็น 3 ระยะ
-ระยะที่ 1 (Early/Primary Syphilis) จะเกิดแผลขนาดเล็กบริเวณที่ได้รับเชื้อก้นขอบแผลมีลักษณะเรียบและแข็งที่เรียกว่า แผลริมแข็ง (Chancre)
-ระยะที่ 2 (Secondary Stage) ผู้ป่วยจะเริ่มเกิดผื่นที่มีลักษณะตุ่มนูนคล้ายหูดขึ้นตามบริเวณฝ่ามือและฝ่าเท้า อวัยวะเพศ
-ระยะที่ 3 (Tertiary Syphilis)ระยะสุดท้ายที่ก่อให้เกิดความผิดปกติและภาวะแทรกซ้อนที่หัวใจ สมอง เส้นประสาท
การรักษาซิฟิลิส
ส่วนใหญ่เป็นการรักษาด้วยยากลุ่มเพนิซิลลิน จี (Penicillin G)
Stevens-Johnson Syndrome
อาการ
-รู้สึกเจ็บปวดตามร่างกายโดยไม่ทราบสาเหตุ
-เกิดผื่นแดงที่ตรงกลางมีสีเข้มและรอบข้างมีสีจาง จากนั้นนั้ ผื่นจะค่อย ๆ
ลุกกลามและเพิ่มจำ นวนขึ้น
-เกิดแผลพุพองตามผิวหนังและเยื่อเมือกบุผิวบริเวณริมฝีปาก ช่องปาก
จมูก ตา และอวัยวะเพศ
-ผิวหนังชั้นชั้ นอกหลุดลอก เผยให้เห็นผิวด้านในที่มีลักษณะคล้ายผิวไหม้
การรักษา
-ยาต้านการติดเชื้อ เช่น เพนิซิลลิน โคไตรม็อกซาโซล
-ยาระงับอาการปวด เช่น พาราเซตามอล ไอบูโพรเฟน นาพรอกเซน
-ยากันชักหรือยารักษาอาการป่วยทางจิต
-ยารักษาโรคเกาต์ เช่น อัลโลพูรินอล