Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเรียนรู้ - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเรียนรู้
ความหมายของการเรียนรู้
กระบวนการคิดไตร่ตรองประสบการณ์ที่ได้รับทั้งประสบการณ์เดิม และประสบการณ์ใหม่ ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวร
พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงซึ่งแสดงออกทางด้านร่างกาย ได้แก่ ทักษะการปฏิบัติ ด้านสมอง ได้แก่ ทักษะทางสติปัญญา และด้านจิตใจ ได้แก่ ความรู้สึก เจตคติ หรือคุณลักษณะ
ความสำคัญของการเรียนรู้
ความสำคัญต่อตนเอง
ด้านการมีชีวิตรอด
ด้านการมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ด้านการเติมเต็มความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ความสำคัญต่อสังคม
ด้านการอยู่ร่วมกัน
ด้านการพัฒนาและแก้ปัญหา
ด้านการสืบทอด
ความสำคัญต่อการศึกษา
ด้านการสร้างองค์ความรู้
ด้านการพัฒนาระบบการศึกษา
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะหรือเจตคติใหม่ ๆ และที่ถูกต้องเหมาะสมกับยุคสมัย
เพื่อพัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา
เพื่อการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
เพื่อนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ สร้างสรรค์ สิ่งใหม่ หรือปรับปรุงวิถีชีวิตและการทำงานให้ดีขึ้น
เพื่อประโยชน์ในการศึกษาเรียนรู้ สืบสาน และต่อยอดให้เจริญก้าวหน้ามากขึ้น
องค์ประกอบการเรียนรู้
กระบวนการ
กิจกรรมหรือประสบการณ์ที่ผู้เรียนได้รับ หรือลงมือกระทํา และตอบสนอง
การให้ข้อมูลป้อนกลับ
การตรวจสอบผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเพื่อ นําไปสู่การปรับปรุง กระบวนการเรียนรู้
ปัจจัยนําเข้า
ตัวผู้เรียน และสิ่งที่เรียนรู้หรือสาระของการเรียนรู้
ผลลัพธ์
ผลการเรียนรู้ ซึ่งแสดงออกในด้านความรู้ เจตคติ ความเชื่อ และทักษะหรือการปฏิบัติ
กระบวนการเรียนรู้
เกิดขึ้นอย่างเป็นลับดับขั้นตอนโดยเริ่มจากการที่ผู้เรียนรับรู้สิ่งเร้าหรือประสบการณ์ใหม่ ผ่านประสาทสัมผัสและกระบวนการทางปัญญา และโดยมีปัจจัยทําให้เกิดเป็นความเข้าใจใหม่เกี่ยวกับสิ่งนั้นและแสดงออกเป็นพฤติกรรมทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ และเจตคติ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้
หลักสูตร
วิธีจัดการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้
ผู้เรียน
ครูผู้สอน
การศึกษาฐานสมรรถนะ
เป็นการเรียนที่เปิดกว้างในแง่ของความหลากหลายในความถนัดซึ่งในขณะเดียวกัน ก็เข้าใจความเป็นปัจเจกของบุคคลที่มีความแตกต่าง นับเป็นความก้าวหน้าในการเรียนการสอนไปอีกขึ้นหนึ่ง ที่ทำให้สามารถมองการเรียนการสอนในหลายมิติมากขึ้น