Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฏหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางชีวภาพ - Coggle Diagram
กฏหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางชีวภาพ
International regulation (ใช้ครอบลุมทั่วโลก)
อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ (BWC)
ไทยเข้าเป็นภาคีเมื่อ มี.ค 2518 โดยปัจจุบันนั้นมีภาคีทั้งหมด 170 ประเทศ
สาระสำคัญอนุสัญญา
มาตรา 1. ภาคีจะไม่พัฒนา ผลิต สะสมหรือหามาด้วยปนะการอื่้นใด หรือ การเก็บรักษา เช่น จุลินทรีย์ หรือ เเบคทีเรียอื่นๆที่ไม่มีเหตุผลเพื้่อการรักษาโรค และ อาวุธ หรือ เครื่องส่งที่มีวัตถุประสงค์ในการก่อสงคราม
มาตรา10 ภาคีจพอำนวยความสะดวกทั้งการเเลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ วัสดุ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการใช้สารชีวภาพเพื่อในทางสันติ
พิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ (CBD)
ไืทยเป็นภาคีเมื่อ ก.พ 2549 เเละปัจจุบันมีภาคี 167 ประเทศ
เป็นพิธีสารที่ครอบคลุุมสิ่งมีชีวิตัดเเปลงพันธุกรรม ยกเว้นมนุษย์ เป็นพิธีสารที่ดูเเลความปลอดภัยในการเคลื่อนย้ายข้ามเเดน การดูเเลโดยใช้หลักการ AIA โดยพิธีสารยี้ไม่ใช้กับสิ่งมีชีวิตที่ดัดเเปลงพันธุกรรมที่นำผ่าน ไปใช้โดยตรงเป็นอาหาร อาหารสัตว์ เเละกระบวนการผลิต
Laboratory Biosafety Manual WHO
เป็นคู่มือที่ใช้สำหรับในการประเมินความเสี่ยงทางจุลวิทยาในห้องปฏิยัติการและการออกเเบบความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ .
โดยห้องปฏิบัติการนั้นจะเเบ่งความเสี่ยงออกเป็น 4 ระดับ คือ
1.ห้องปฏิบัติการมูลฐาน ระดับ 1
3.ห้องปฏิบัติการควบคุมเชื้อ ระดับ 3
4.ห้องปฏิบัติการควบคุมเชื้อสุดยอด ระดับ 4
2.ห้องปฏิบัติการมูลฐาน ระดับ 2
National regulation ใช้เฉพาะในประเทศของตัวเอง (ไทย)
พรบ.คุ้มครองโรคจากสัตว์ พ.ศ.2558
โดยทำการควบคุมดูเเลและป้องกันไม่ให้มีการใช้เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ไปในทางที่ไม่ถูกต้อง
มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชน จากเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ โดยมีของเขต ดังนี้ 1.การผลิต 2.การนำเข้า 3.การส่งออก 4.การขาย 5.การนำผ่าน 6.การครอบครอง
โดย พ.บ.ร นี้ ได้เเบ่ง้ชื่อโรคตามาตราที่18 ออกเป็น 4 ระดัย คือ1.อันตรายน้อย 2.อันตรายปานกลาง 3.อันตรายสูง 4.อันตรายมาก โดยถ้าเจอเชื้อโรคกลุ่มทีี่1 คิืออันตรายน้อยให้ทำตามวิธีการทำกำหนด ถ้าเจอเชื้อโรคกลุ่มที่2 อันตรายปลานกลาง ให้ทำการเเจ้ง ถ้าเจอเชื้อโรคอันตรายสูง มห้ทำการขออนุญาติ ถ้าเจอเชื้อโรคอันตรายสูง ให้ทำการ ห้าม
มาตราที่ 19 ได้เเบ่งพิษจากสัตว์ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ1.พิษไม่ร้ายเเรงและมีวิธีการรักษาที่ได้ผล 2.พืษร้ายเเรงและมีวิธีการรักษาที่ได้ผล 3.พิษร้ายเเรงและมีวิธีการรักษาที่ไม่ได้ผล
พระราขบัญญัติกักพืช
เป็น พระราชบัญญัติที่ป้องกันอันตราย จากโรค เเมลง และศัตรูพืชที่ร้ายแรง ไม่ให้เข้ามาเเพร่ระบาดในประเทศ โดยพืชดัดเเปลงพันธุกรรมเป็นสิ่งที่ต้องห้ามในพระราชบัญญัตินี้