Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล - Coggle Diagram
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Pre-CAG
1.มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
วัตถุประสงค์:ลดการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
:ผู้ป่วยไม่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก pain scale 0 สัญญาณชีพปกติ
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
การพยาบาล
การพยาบาล
1.ดูแลให้ยา มอร์ฟีน ตามแผนการรักษา เพื่อระงับอาการปวดอย่างรุนแรง และทําให้หลอดเลือดขยายตัวลดการทํางานของหัวใจ ลดการใช้ออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจ เฝ้าระวังความดันโลหิตต่ำและการเต้นของหัวใจผิดปกติ
การพยาบาล
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ประเมิน สัญญาณชีพประเมินอาการเจ็บแน่นหน้าอก EKG monitoring เพื่อให้เลือดสามารถนําออกซิเจนไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้เพิ่มมากขึ้น
3.ประเมินอาการเจ็บแน่นหน้าอก ลักษณะตําแหน่ง ความรุนแรง อาการเจ็บร้าว ระยะเวลาที่เป็น และตรวจคลื่นหัวใจ 12 lead ทุกครั้งที่มีอาการเจ็บหน้าอกเพื่อหาสาเหตุของอาการเจ็บหน้าอก
2.เสี่ยงต่อการเกิด Cardiac arrest
วัตถุประสงค์
: ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
เกณฑ์การประเมิน
:ผู้ป่วยไม่มีอาการเจ็บหน้าอกเพิ่มมากขึ้น ไม่มีความดันโลหิตต่ำ ไม่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจเต้นผิดจังหวะ
การพยาบาล
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด Cardiac arrest เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตต่ำติดตามประเมิน สัญญาณชีพ และ EKG monitoring สังเกตอาการเหงื่อแตก ตัวเย็น ซีดเขียว ปัสสาวะออก น้อย ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงเพื่อประเมินว่าเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจและอวัยวะต่างๆเพียงพอ กล้ามเนื้อหัวใจได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดเลือดตามแผนการรักษา เฝ้าระวังผลข้างเคียงจากการได้รับยา
ติดตามและประเมินอาการเจ็บหน้าอก. เพื่อประเมินภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดซึ่งส่งผลให้
cardiac output ลดลง
ดูแลให้ออกซิเจน ตามแผนการรักษา ถ้าผู้ป่วยหายใจเร็วหรือระดับ oxygen saturation ลดลง
ประเมินปริมาณปัสสาวะควรมากกกว่า 0.5ml/kg/hrหากปัสสาวะออกน้อยกว่า0.5ml/kg/hr แสดงถึงเลือดมาเลี้ยงที่ไตน้อยลง จากการลดลงของ cardiac output
ประเมินการไหลเวียนเลือดและติดตามผลการออกฤทธิ์ของยาลดการทํางานของหัวใจและเพิ่ม cardiac outputรวมทั้งยากระตุ้นหัวใจเพื่อประเมินผลของยาและการบีบตัวของหัวใจ
Post CAG
1.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการทํา CAG
วัตถุประสงค์
: ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจเกิดขึ้น เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ ภาวะเลือดออกheart attack hematoma เป็นต้น
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ EKG monitor ประเมินอาการเจ็บหน้าอก ใจสั่นประเมินภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดภายหลังจากที่มีการถ่างขยายหลอดเลือด และความผิดปกติของการเต้นของหัวใจ
ประเมินและเปรียบเทียบชีพจรส่วนปลาย สีผิว และความอุ่นของผิวหนังแขนหรือขาข้างที่ทําเพื่อประเมินการอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลาย
ประเมินอาการปวด ทุก15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 4 ครั้ง เมื่ออาการคงที่ประเมินทุก 1 ชั่วโมงเพื่อประเมินอาการปวดแผลจากการทําหัตถการและเพื่อให้ยาลดหรือบรรเทาอาการปวด เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ตรวจสอบการมีเลือดออกบริเวณแผล และเลือดออกใต้ผิวหนัง ร่วมกับประเมินสัญญาณชีพ ทุก15 นาที 4 ครั้งทุก 1 ชั่วโมง 4 ครั้ง เมื่ออาการคงที่ประเมินทุก 1 ชั่วโมงเพื่อประเมินการปิดของบาดแผลและภาวะเลือดออกจากการทําหัตถการและการได้รับยาละลายลิ่มเลือดขณะทําหัตถการเมตร)ลักษณะของก้อนเลือด (แข็งหรือนุ่ม) สีผิว อุณหภูมิ และการคลําชีพจรส่วนปลายเพื่อประเมินภาวะเลือดไหลไม่หยุด และการอุดตันของหลอดเลือด รวมทั้งการอักเสบของหลอดเลือด
2.กลัว เนื่องจากเป็นภาวะที่คุกคามชีวิต
วัตถุประสงค์
:ผู้ป่วยและครอบครัวพูดคุยถึงความรู้สึกกลัว กังวลใจ การพยากรณ์โรค การรักษาและผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตหรือแบบแผนการดําเนินชีวิต
การพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพ
2.ให้ผู้ป่วยและครอบครัวพูดคุยถึงความรู้สึกกลัว กังวลใจ การพยากรณ์โรค การรักษาและผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตหรือแบบแผนการดําเนินชีวิต
3.ส่งเสริมสัมพันธภาพผู้ป่วยกับพยาบาลและช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวเผชิญปัญหาโดยตรง
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและครอบครัวระบายความรู้สึกกลัวเนื่องจากการแลกเปลี่ยนข้อมูลช่วยในการสนับสนุนทางด้านจิตใจและลดความตึงเครียดพร้อมทั้งระบายความวิตกกังวล
ควรมีการทบทวนข้อมูลเดิมที่ให้แก่ผู้ป่วยเป็นระยะๆเนื่องจากความสนใจของผู้ป่วยอาจสั้น และการรับรู้เกี่ยวกับเวลาอาจเปลี่ยนไป ความกังวลส่งผลให้การรับรู้และความสนใจลดลง