Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Basic immunology ภูมิคุ้มกันวิทยาพื้นฐาน - Coggle Diagram
Basic immunology ภูมิคุ้มกันวิทยาพื้นฐาน
Immunity ภูมิคุ้มกัน คือ กระบวนการป้องกันร่างกายจากสิ่งแปลกปลอมหรือ antigen (Ag) ที่เข้ามาสัมผัส หรือเข้ามา
ในร่างกาย เช่น เชื้อโรคต่าง ๆ ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา ปรสิต เป็นการทางานร่วมกันของเซลล์ และอวัยวะในร่างกาย ที่มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกัน
วิทยาภูมิคุ้มกัน คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
และการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน การตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น พันธุกรรม,อายุ,สิ่งแวดล้อม,โครงสร้างทางสรีระของร่างกาย,normal flora
ศึกษาโรคที่มีความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน เช่น 1.ภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity) 2.โรคภูมิต้านทานเนื้อเยื่อตัวเอง (Autoimmune Disease) 3.โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Immunodeficiency) 4.โรคที่เกิดจากการเพิ่มจ านวนเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน (Immunoproliferative Disease)
Immune System ระบบภูมิคุ้มกันทำหน้าที่ คอยป้องกันไม่ให้เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเข้ามาทาอันตรายต่อร่างกาย แต่เมื่อเชื้อโรคหลุดเข้ามาแล้ว ระบบภูมิคุ้มกันจะพยายามทาลายและกำจัดสิ่งแปลกปลอมให้หมดไปจากร่างกาย
โดยเร็วและอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยการทางานร่วมกัน 1) The innate immune system (non-specific) 2) The adaptive immune system (specific)
หน้าที่ของระบบภูมิคุ้มกัน
Defense : ป้องกันและทาลายเชื้อโรคและสิ่ง
แปลกปลอม
Homeostasis : คอยกาจัดเซลล์ปกติที่เสื่อมสภาพ
เช่น กาจัดเซลล์เม็ดเลือดที่มีอายุมาก
Surveillance : คอยดักทาลายเซลล์ต่างๆที่แปร
สภาพผิดไปจากปกติ เช่นทำลายtumorcellsเพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง
Immune System
Innate immunity (non-specific) -ระบบภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กำเนิด-ไม่มีความจำเพาะเจาะจงกับชนิดของเชื้อโรค -ไม่จำเป็นต้องได้รับเชื้อโรคนั้นมาก่อน
Barrier (body’s defenses) -ผิวหนัง (Skin) : เป็นกาแพงกั้นเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายโดยตรง -รูขุมขน (Hair follicles) ต่อมไขมัน (sebaceous glands) : antimicrobial substance
(fatty or enzyme) -Normal microbial flora compete with : potential pathogens -Mucous from Respiratory, GI tract, Genitourinary tract
Phagocytosis
Inflammatory response
-การตอบสนองที่เกิดขึ้นเมื่อมีจุลชีพหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย
-การเคลื่อนย้ายของ phagocytic cell มายังบริเวณที่มีสิ่งแปลกปลอม บริเวณนั้นจะมีลักษณะจ าเพาะ
คือ ปวด บวม แดง ร้อน
Fever
-ผลจากการหลั่งสาร เช่น Interleukin-1 (IL-1), Interleukin-6 (IL-6) จาก macrophage
-ผลจากการหลั่งสาร tumor necrosis factor (TNF) จากเซลล์มะเร็ง -เพื่อตอบสนองเชื้อจุลินทรีย์
-สมองจะปรับ (reset) อุณหภูมิในร่างกายให้สูงขึ้น >> เกิดอาการไข้ >> มีผลยับยั้งการแบ่งเซลล์จุลินทรีย์
Interferon (IFN)
-โปรตีนที่หลั่งจากเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส
-ทำหน้าที่กระตุ้นเซลล์ให้ผลิต antivirus protein
ออกฤทธิ์ยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อไวรัส
Complement
-กลุ่มของโปรตีนใน plasma (ประมาณ 25 ชนิด)
ส่วนใหญ่สร้างจากตับ
-ทำหน้าที่สลายเซลล์และหลั่งสารเคมี
Adaptive immunity (specific) -ระบบภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายเคยได้รับเชื้อโรคนั้นมาก่อน
-ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันจดจำและสร้างภูมิคุ้มกันที่มีความจาเพาะกับชนิดของโรคนั้น
Cell mediated immune response (CMIR) -เซลล์ที่รับผิดชอบ คือ T-lymphocyte (T-cell) และ Macrophage ทางานร่วมกัน
Humoral immune response (HIR)
-เซลล์ที่รับผิดชอบ คือ B-lymphocyte (B-cell) และ plasma cell โดย อาศัยการทางานของ antibody (Ab) หรือ Immunoglobulin (Ig) (การตอบสนองโดยใช้สารน้า)
Organs of the immune system อวัยวะของระบบภูมิคุ้มกัน
Immune Cell เซลล์ภูมิคุ้มกัน การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
Human Blood Leukocytes เม็ดเลือดขาวในเลือดมนุษย์
Hematopoietic stem cell (hemocytoblast) เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด เซลล์ต้นกำเนิดของเซลล์ต่างๆ ในกระแสเลือด พบในไขกระดูก 0.5 – 1 %
Immunity to Microorganism
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อแบคทีเรีย
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อรา
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส
ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อปรสิต
Immunity
ภูมิต้านทาน
Active immunity (สร้างเอง)
Natural active immunity : หลังติดเชื้อ
Artificial active immunity : วัคซีน toxoid
Passive immunity (รับมา)
Natural passive immunity : ทางรก น้ านมจากแม่
Artificial passive immunity : เซรุ่มแก้พิษงู